Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61856
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิบูลย์ ศรีเจริญชัยกุล | - |
dc.contributor.advisor | ดวงเดือน อาจองค์ | - |
dc.contributor.author | ปรางค์ทิพย์ แก้วเพ็งกรอ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2019-05-16T03:08:33Z | - |
dc.date.available | 2019-05-16T03:08:33Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61856 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการแปรสภาพขยะพลาสติกจากหลุมฝังกลบโดยผ่านกระบวนการไพโรไลซิสและแกซิฟิเคชัน ทำการศึกษาที่อุณหภูมิ 700-900 °C ที่อัตราสมมูลเท่ากับ 0.4 – 0.6 โดยไม่ใช้ตัวเร่งปฎิกิริยาเปรียบเทียบกับการแกซิฟิเคชันที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา Ni-Mg-La/Al₂O₃ แก๊สผลิตภัณฑ์หลักที่ได้คือแก๊สไฮโดรคาร์บอน การไพโรไลซิสและแกซิฟิเคชันขยะพลาสติกโดยไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา พบว่าปริมาณแก๊สไฮโดรเจนและคาร์บอน มอนอกไซด์ที่ได้ต่ำ ค่าความร้อนที่ได้อยู่ในช่วง 6.52–9.39 MJ/m³ค่าความร้อนสูงสุดเกิดที่อุณหภูมิ 800 °C อัตราสมมูลเท่ากับ 0.4 ซึ่งมีความเหมาะสมสำหรับนำไปใช้เป็นแก๊สเชื้อเพลิงต่อไป และพบว่าค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนของแก๊สผลิตภัณฑ์ที่อุณหภูมิ 700 °C อัตราสมมูลเท่ากับ 0.4 มีค่าสูงสุดเท่ากับร้อยละ 86.42 ซึ่งการแกซิฟิเคชันที่อุณหภูมิต่ำคือ 700 °C จะประหยัดพลังงานมากกว่าที่อุณหภูมิสูง นอกจากนี้ยังพบว่าระยะเวลากักของแก๊สเท่ากับ 1.3 วินาทีเป็นสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตแก๊สไฮโดรเจนและคาร์บอนมอนอกไซด์ ในขณะที่การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา Ni-Mg-La/Al₂O₃ ในการแกซิฟิเคชันพบว่าปริมาณแก๊สผลิตภัณฑ์มีค่าสูงอยู่ในช่วง 87.23–94.29% ผลิตภัณฑ์ของแข็งและของเหลวมีปริมาณลดลง ปริมาณแก๊สไฮโดรเจนและคาร์บอนมอนอกไซด์มีค่าสูงขึ้นและยังพบว่าค่าความร้อนมีค่าสูงขึ้นเท่ากับ 15.76–19.26 MJ/m³ มีค่าสูงสุดที่อุณหภูมิ 900 °C จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยามีผลต่อปริมาณแก๊สผลิตภัณฑ์โดยรวม การผลิตแก๊สไฮโดรเจนและคาร์บอนมอนอกไซด์แต่ไม่มีผลต่อการลดลงของปริมาณแก๊สไฮโดรคาร์บอน ดังนั้นการแปรสภาพทางเคมีด้วยความร้อนของขยะพลาสติกที่ผ่านการฝังกลบโดยกระบวนการแกซิฟิเคชันจึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมอีกทางหนึ่งในการจัดการของเสีย | en_US |
dc.description.abstractalternative | Pyrolysis and gasification processes were utilized in order to study the feasibility on production of value added fuels from landfilled plastic wastes. Plastic wastes were converted in a gasifier at 700–900 °C. Equivalence ratio (ER) was varied from 0.4–0.6 with or without addition of Ni-Mg-La/Al₂O₃ catalyst. Methane was found to be the major gaseous products. The pyrolysis and gasification of plastic wastes without Ni-Mg-La/Al₂O₃ catalyst resulted in relatively low H₂ and CO with energy content ranged from 6.52–9.39 MJ/m³. The highest LHV obtained from 800°C and equivalence ratio of 0.4 is suitable for further usage as quality fuel gas. The maximum cold gas efficiency of 86.42% occurred at 700°C and equivalence ratios as 0.4, it would be more economical to gasify this plastic waste at lower temperature of 700°C. The residence time is one of important operating variables in the plastics gasification process. There is significant effect observed in amount or composition of gaseous products which a residence time of 1.3 s was found to be optimum in product gas with amounts of H₂ and CO. The presence of the Ni-Mg-La/Al₂O₃ catalyst significantly enhanced H₂ and CO production as well as increased gas energy content to 15.76–19.26 MJ/m³. Higher temperature resulted in more H₂ and CO and product gas yield which ranged from 87.23–94.29%. The maximum gas yield was achieved when Ni-Mg-La/Al₂O₃ catalyst was used at 900°C; it had significant effects on product gas yield, H₂ and CO production, calorific value and cold gas efficiency and no significant effect on reduction of hydrocarbon production. Thus, thermochemical treatment of landfilled plastic wastes using gasification is a very attractive alternative for sustainable waste management | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ขยะพลาสติก | - |
dc.subject | การแยกสลายด้วยความร้อน | - |
dc.subject | พลังงานจากขยะ | - |
dc.subject | Plastic scrap | - |
dc.subject | Pyrolysis | - |
dc.subject | Refuse as fuel | - |
dc.title | การแปรสภาพขยะพลาสติกจากหลุมฝังกลบโดยกระบวนการไพโรไลซิสและแกซิฟิเคชัน | en_US |
dc.title.alternative | Conversion of plastic wastes from landfill using pyrolysis and gasification processes | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | viboon.sr@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | duangdao.a@chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5170373021_2553.pdf | 3.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.