Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรกริช สังขมณี-
dc.contributor.authorวิภาวดี พันธุ์ยางน้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-05-16T03:31:45Z-
dc.date.available2019-05-16T03:31:45Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61869-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractผู้คนและหมู่บ้านในชนบทมีพลวัตและมีความร่วมสมัยตลอดมา ดังจะเห็นได้จากแนวทางการศึกษาหมู่บ้านชนบทไทยที่ได้รับการพัฒนาและปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย อาทิ การศึกษาภายใต้วาทกรรมหลักของรัฐในช่วงทศวรรษที่ 2550 การศึกษาตามแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน แนวคิดสิทธิชุมชน และแนวคิดสองนคราประชาธิปไตยในทศวรรษ 2520 - 2540 และการปรากฏตัวของคนชนบทในขบวนการเสื้อแดงในทศวรรษ 2550 ได้กลายเป็นจุดหักเหสำคัญของแนวทางศึกษาหมู่บ้านชนบทไทยซึ่งมีคุณูปการสำคัญต่อการถมช่องว่างในการทำความเข้าใจความปรารถนาทางเศรษฐกิจการเมืองของคนชนบทสมัยใหม่ตามแนวคิดวัฒนธรรมชุมชน แนวคิดสิทธิชุมชน และแนวคิดสองนคราประชาธิปไตย กระนั้นก็ตาม การศึกษาตามแนวทางข้างต้นล้วนมีลักษณะสำคัญร่วมกันประการหนึ่ง คือเสนอภาพการแสดงออกทางการเมืองของคนชนบทว่ามีความกลมเกลียวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งบดบังและลดทอนความซับซ้อนทางการเมืองของคนชนบทที่มีความขัดแย้ง-การต่อสู้-การต่อรองอำนาจทางการเมืองเกิดขึ้นผ่านหลากหลายช่องทางในวิถีการดำรงชีวิตประจำวัน ขณะที่การศึกษาปฏิบัติการทางการเมืองในชีวิตประจำวันกลับสามารถเผยให้ถึงปฏิสัมพันธ์ทางการเมืองที่ดำรงอยู่อย่างสลับซับซ้อนในวิถีชีวิตปกติของชาวบ้านได้ และแสดงให้เห็นว่าการเมืองแบบประชาชน การเมืองแบบเลือกตั้ง การเมืองคนเสื้อแดง รวมทั้งการเปิดหมู่บ้านเสื้อแดง เป็นเพียงหนึ่งในหลากหลายช่องทางที่ชาวบ้านเลือกใช้เพื่อแสดงออกถึงอำนาจในการเข้าไปมีส่วนร่วมตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรระดับชาติและระดับท้องถิ่นen_US
dc.description.abstractalternativeRural community and its members always live the dynamic and contemporary life. This conclusion is apparent in various scholarly approaches developed in order to understand these communities in different historical periods; for example, the mainstream state discourse starting in 2007 as well as the community culture, community rights and “A tale of two democracies” discourse in 1977 – 1997. The emergence of the Red Shirts movement in 2007; somehow, is the turning point for the academic explanation and enormously has its contribution to bridge the gap of understanding about the political-economic incentives of modern rural community apart from those based on the community culture, community rights and “A tale of two democracies”. Still, all academic literatures share a common stance reflecting the community expression of political interests in “unity” which obscure and distort the political complication that contains internal conflict, struggle and negotiation with various political channels. Hence, the observation of everyday politics in rural community had revealed complex political interactions whereas civil participation, electoral politics, Red Shirt politics as well as the establishment of the Red Shirt village, are just parts of political channels that villagers sort to express their political power to participate in the policy-making decision on the local and national resources allocation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.47-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย -- บ้านนาใหญ่ (อุดรธานี)en_US
dc.subjectอำนาจชุมชน -- ไทย -- บ้านนาใหญ่ (อุดรธานี)en_US
dc.subjectชุมชนในหมู่บ้าน -- ไทย -- บ้านนาใหญ่ (อุดรธานี)en_US
dc.subjectPolitical participation -- Thailand -- Nayai Village (Udonthani)en_US
dc.subjectCommunity power -- Thailand -- Nayai Village (Udonthani)en_US
dc.titleหมู่บ้านเสื้อแดง : การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชุมชนชนบทไทย กรณีศึกษาหมู่บ้านนาใหญ่ จังหวัดอุดรธานีen_US
dc.title.alternativeRed-shirt village : the transformation of powers in rural Thai community a case study of Nayai Village, Udonthanien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพัฒนามนุษย์และสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJakkrit.Sa@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.47-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wipawadee Panyangnoi.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.