Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62419
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริเพ็ญ ศุภกาญจนกันติ | - |
dc.contributor.author | วิริยา โชคมหาสิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-07-10T08:01:23Z | - |
dc.date.available | 2019-07-10T08:01:23Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746350681 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62419 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงการกระจายรายได้ครัวเรือนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในปี 2529, 2531, 2533 และ 2535 รวมถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นปัจจัยหลัก 3 ประการ ได้แก่ ปัจจัยทางภูมิภาค ปัจจัยทางด้านประชากร และปัจจัยที่เกี่ยวกับการจ้างงาน ปัจจัยทางภูมิภาคจะแบ่งครัวเรือนตามถิ่นที่อยู่ ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปัจจัยทางด้านประชากรจะแบ่งครัวเรือนตามคุณลักษณะของหัวหน้าครัวเรือน ซึ่งประกอบด้วยอายุ เพศ และ การศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงานจะแบ่งครัวเรือนตามชั้นทางเศรษฐกิจและสังคม อาชีพของหัวหน้าครัวเรือน และภาคเศรษฐกิจ การศึกษาใช้ดัชนี Shorrock เพื่อวัดและแยกส่วนประกอบของความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้ของครัวเรือน และดัชนี Gini จะใช้เพื่อวัดความไม่เท่าเทียมของการกระจายรายได้ ผลการวิจัยพบว่าการกระจายรายได้ภายในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลจะดีขึ้นเพียงปีเดียวคือปี 2531 ส่วนปีอื่น ๆ นั้นจะมีการกระจายรายได้เลวลง และเขตปริมณฑลจะมีการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกันมากกว่าเขตกรุงเทพฯ เกือบทุกปี ยกเว้นปี 2531 ความไม่เท่าเทียมกันของกรุงเทพฯและปริมณฑลสามารถอธิบายได้จากส่วนสนับสนุนของความไม่เท่าเทียมกันระหว่างกลุ่มของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน และปัจจัยทางด้านประชากร โดยในกรุงเทพฯ อาชีพจะให้ค่าส่วนสนับสนุนของความไม่เท่าเทียมระหว่างกลุ่มมากที่สุดเมื่อพิจารณาเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน รองลงมาได้แก่ชั้นทางเศรษฐกิจ และสังคม และภาคเศรษฐกิจ สำหรับปัจจัยทางด้านประชากรนั้น เพศและอายุของหัวหน้าครัวเรือนจะมีค่าส่วนสนับสนุนระหว่างกลุ่มค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะการแบ่งครัวเรือนตามเพศของหัวหน้าครัวเรือนจะมีค่าส่วนสนับสนุนระหว่างกลุ่มไม่เกินร้อยละ 1 ในทางตรงกันข้าม การแบ่งครัวเรือนตามการศึกษาของหัวหน้าครัวเรือนจะให้ค่าส่วนสนับสนุนมากกว่าเพศและอายุ อีกทั้งบางปีจะให้ค่าส่วนสนับสนุนมากกว่าปัจจัยอื่น ๆ ทั้งหมด เขตปริมณฑลโดยทั่วไปจะให้ผลที่คล้ายกับเขตกรุงเทพฯ แต่ในปัจจัยที่เกี่ยวกับการจ้างงาน อาชีพของหัวหน้าครัวเรือนและชั้นทางเศรษฐกิจและสังคมจะมีความสำคัญเท่ากันต่อการก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียม และเขตปริมณฑลจะให้ค่าส่วนสนับสนุนระหว่างภาคเศรษฐกิจสูงกว่าเขตกรุงเทพฯ อย่างเห็นได้ชัด | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study income distribution in Bangkok and Peripheries in 1986, 1988, 1990 and 1992 and the causes affected income inequality which can be devided into three main factors. The first one is regional factors; households are classified by regions (Bangkok and Peripheries), the second is demographic factors; households are classified by sex, age and education of household head and the last one is employment-related factors which devided households into socio-economic class, occupation of household head and economic sector. Gini index is used to mesure income inequality and Shorrock' index is used to mesure and decompose income inequality. The distribution of income within Bangkok and Peripheries are better only in 1988 and Peripheries income distribution is better than Bangkok occupation of household head generally is the highest between-group contribution of employment-related factors, the next is socio-economic class and economic sector contributes the lowest anyway in this group. For demographic factors, age and sex of household head contribute fairly little especially sex of household head contributes less than 1 percent. In contrast, education of household head has more contribution than the two in the same group and some years it has the highest contribution among all. For Peripheries, the result is similar to Bangkok, but education of household head and socio-economic class seem to be equally important factors affecting inequality and has much more contribution between sector than Bangkok in every years. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การกระจายรายได้ | - |
dc.subject | รายได้ประชาชาติ | - |
dc.subject | Income distribution | - |
dc.subject | National income | - |
dc.title | การวิเคราะห์การกระจายรายได้ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พ.ศ. 2529-2535 | - |
dc.title.alternative | Analysis of income distribution in Bangkok Metropolitan and Peripheries in 1986-1992 | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Viriya_ch_front_p.pdf | 5.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Viriya_ch_ch1_p.pdf | 14.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Viriya_ch_ch2_p.pdf | 7.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Viriya_ch_ch3_p.pdf | 14.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Viriya_ch_ch4_p.pdf | 9.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Viriya_ch_ch5_p.pdf | 21.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Viriya_ch_ch6_p.pdf | 6.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Viriya_ch_back_p.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.