Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6245
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์-
dc.contributor.authorปริญญา มีสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-03-14T06:42:11Z-
dc.date.available2008-03-14T06:42:11Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749627-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6245-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการทดสอบความจำโดยใช้คำถามที่มีการชี้แนะต่อความจำที่ผิดพลาดในเด็กอายุ 5, 8, และ 11 ปี กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งหมด 90 คน โดยแบ่งเป็นระดับอายุละ 30 คน (ชาย 15 คน และหญิง 15 คน) ผู้วิจัยได้ทำการทดสอบความจำของเด็กทั้ง 3 ระดับอายุโดยใช้คำถามที่มีการชี้แนะ ซึ่งมีชนิดของคำที่ใช้ทดสอบ 3 ชนิด คือ คำเป้าหมาย คำที่ไม่ใช้เป้าหมาย และคำที่ไม่มีความสัมพันธ์กับคำอื่น และมีการทดสอบซ้ำหลังจากเวลาผ่านไป 1 สัปดาห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนสามทาง (3x3x2 Analysis of Variance) แบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1. ไม่พบความแตกต่างทางสถิติของคะแนนความจำที่ถูกต้องจากการทดสอบความจำ โดยการใช้ตัวชี้แนะระหว่างกลุ่มอายุในกลุ่มคำเป้าหมาย 2. คะแนนความจำที่ถูกต้องจากการทดสอบความจำโดยการใช้ตัวชี้แนะในคำไม่ใช่เป้าหมายของเด็กอายุ 5 ปีสูงกว่าคะแนนของเด็กอายุ 8 และ 11 ปีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เด็กอายุ 8 ปี และ 11 ปี มีคะแนนไม่แตกต่างกัน 3. เด็กทั้ง 3 ระดับอายุมีคะแนนความจำที่ถูกต้องในคำที่ไม่ใช่เป้าหมายสูงกว่าคำเป้าหมายเมื่อมีการทดสอบความจำด้วยการใช้ตัวชี้แนะทั้งในการทดสอบทันทีและทดสอบซ้ำหลังจากเวลาผ่านไป 1 สัปดาห์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 1. เด็กทั้ง 3 ระดับอายุมีคะแนนความจำที่ถูกต้องทั้งในคำเป้าหมายและไม่ใช่เป้าหมายลดลงจากการทดสอบครั้งแรกเมื่อมีการทดสอบซ้ำหลังจากเวลาผ่านไป 1 สัปดาห์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis was to study the effect of recognition testing on false memory of 90 children, aged 5, 8, and 11 years old. In each age group, there were 30 subjects (15 boys and 15 girls). The children were tested by 3 sets of word type, critical target, non-critical target, and unrelated words. They were repeatedly tested one week later. A 3x3x2 analysis of repeated variance was conducted for statistical analysis. The results are as follows; 1. There was no significant difference in the scores of correct memory from recognition testing of the critical target words among the three age groups. 2. The five-year-olds's correct memory scores from recognition testing of the non-critical target words were significantly higher than the 8 and 11 year-olds' (p<.05). But the 8 and 11 year-olds's scores did not differ significantly. 3. The three age groups had significantly higher correct memory scores in the non-critical target words than the critical target words both from the immediate recognition testing and delayed testing one week later (p<.01). 4. The three age groups's correct memory scores in both the critical target and non-critical words decreased significantly (p<.01) from the immediate recognition testing when tested on week later.en
dc.format.extent1781394 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพัฒนาการของเด็กen
dc.subjectความจำen
dc.titleผลกระทบของการทดสอบความจำโดยมีการชี้แนะต่อความจำที่ผิดพลาดในเด็กอายุ 5, 8 และ 11 ปีen
dc.title.alternativeThe effect of recognition testing on false memory in 5, 8, and 11 year-old childrenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPenpilai.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parinya.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.