Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6257
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิต ธงทอง-
dc.contributor.authorรัฐธรรม แสงสุริยัน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-18T07:08:34Z-
dc.date.available2008-03-18T07:08:34Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741736347-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6257-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและลักษณะของที่พักอาศัยชั่วคราวสำหรับคนงานก่อสร้างใน ปัจจุบัน ต้นทุนที่ใช้ในการก่อสร้างรวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และการพัฒนาต้นแบบของที่พักอาศัยชั่วคราว สำหรับคนงานก่อสร้าง เพื่อลดปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยออกแบบที่พักชั่วคราว ที่สามารถประกอบ ติดตั้ง รื้อถอนได้รวดเร็ว และนำกลับมาใช้ใหม่ได้ จากการสำรวจลักษณะที่พักอาศัยชั่วคราวสำหรับ คนงานก่อสร้าง จำนวน 33 โครงการ พบว่า ปัจจัยหลักที่มีผลต่อรูปแบบของที่พักอาศัยคนงานก่อสร้าง ได้แก่ งบประมาณที่ใช้ในการสร้างที่พักอาศัย เนื่องจากผู้รับเหมาแต่ละรายจำเป็นต้องควบคุมงบประมาณ ในส่วนนี้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ซึ่งจะส่งผลต่อรูปแบบของที่พักอาศัย วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง และขนาดพื้นที่ของห้องพักอาศัย โดยร้อยละ 70 มีพื้นที่ใช้สอยห้องพักอาศัยน้อยกว่ามาตรฐานพื้นที่ใช้สอย ต่ำสุดที่กำหนดโดยการาเคหะแห่งชาติ วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างเป็นวัสดุที่มีอายุการใช้งานน้อย ราคาต่ำ รวมถึงการนำวัสดุที่เสื่อมสภาพมาใช้สร้างที่พักอาศัย และภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ วัสดุเหล่านี้จะถูก นำไปใช้อีกในการก่อสร้างที่พักอาศัยในโครงการต่อไป ซึ่งปัญหาเกี่ยวกับการนำวัสดุมาใช้ซ้ำที่พบส่วนใหญ่ คือวัสดุใช้เป็นวัสดุที่มีอายุการใช้งานน้อย ขาดความคงทน และยังขาดการวางแผนการใช้วัสดุ การก่อสร้าง และการรื้อถอน ทำให้วัสดุที่รื้อถอนเพื่อนำมาใช้ซ้ำเกิดชำรุดเสียหาย บางส่วนไม่สามารถนำมาใช้ซ้ำได้ ส่งผลให้ผู้รับเหมาเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มในการสร้างที่พักอาศัยของโครงการต่อไป และปัญหาดังกล่าวยังส่งผล โดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของคนงานก่อสร้าง เพราะต้องอาศัยอยู่ในที่พักอาศัยที่ถูกสร้างด้วยวัสดุคุณภาพต่ำ จากการศึกษาโครงสร้างอาคารที่พักอาศัยชั่วคราวในปัจจุบัน พบว่าการก่อสร้างอาคารโดยวิธีถอดประกอบ เป็นวิธีที่เหมาะสำหรับอาคารชั่วคราว สามารถประกอบติดตั้งรื้อถอนได้รวดเร็วและนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งมีลักษณะสอดคล้องกับที่พักอาศัยชั่วคราวสำหรับคนงานก่อสร้าง วิทยานิพนธ์นี้จึงได้เสนอ รูปแบบหนึ่ง ของที่พักอาศัยชั่วคราวสำหรับคนงานก่อสร้างที่พัฒนาขึ้นเป็นต้นแบบที่พักอาศัยชั่วคราวแบบถอดประกอบ เพื่อลดปัญหาที่เกิดขึ้นกับที่พักอาศัยคนงานก่อสร้างในปัจจุบัน และเหมาะแก่การนำมาใช้ซ้ำ โดยคำนึงถึง คุณภาพชีวิตของคนงานก่อสร้างในการอยู่อาศัยในที่พักคนงานที่นำเสนอen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to study the structures and characteristics of the temporary houses for construction workers in Thailand. This research also aims to introduce the prototypes of the temporary houses to increase the standard of living of construction workers. The design includes the concept that the prototypes should support contractors in terms of economic construction cost, easy installation processes, and repetitive uses for other projects. From the surveys of the temporary houses for construction workers of the thirty-three construction projects, it is found that the contractors{7f2019} budget is the main effect on the structures and characteristics of the temporary houses. The contractors need to control the budget and thus this affects the characteristics of the worker houses, the space of living areas, and the quality of materials used. It is also found that severity percents of the worker houses built with living areas lower than the minimum standard usable areas specified by the National Housing Authority of Thailand. The materials for the houses are the low quality, low prices and short life time. Moreover, they often are the materials that have been used in other projects for several times. The problem for repetitive uses of materials is that the contractors do not have a good recycle management plan. As a result, there are a lot of wastes of materials due to the damages from demolishing the houses. If these materials are re-used, it directly impacts the living quality of the workers. This thesis also presents two prototypes of the structures of the temporary houses for the construction workers: (a) the low initial investment but low numbers of cycles of repetitive uses, (b) the high initial investment and high numbers of cycles of repetitive uses. The prototypes are developed based on the information found from the surveys where the requirements must resolve the problems existing in the current temporary houses for the construction workers. These are (a) they should increase the standard of living of construction workers, (b) the construction cost of the houses should be reasonable cost for general contractors, and (c) they should be able to support the repetitive uses of the structures with easy and rapid installation and demolition.en
dc.format.extent7214845 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1279-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคนงานก่อสร้าง -- ที่อยู่อาศัยen
dc.subjectต้นแบบทางวิศวกรรมen
dc.subjectการออกแบบวิศวกรรมen
dc.titleการพัฒนารูปแบบที่พักอาศัยชั่วคราวสำหรับคนงานก่อสร้างen
dc.title.alternativeA development of temporary houses for construction workersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcettt@eng.chula.ac.th, Tanit.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1279-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rattatham.pdf7.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.