Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชัยศักดิ์ หรยางกูร-
dc.contributor.authorวิไล ประมวญสมบัติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-08T04:01:40Z-
dc.date.available2019-08-08T04:01:40Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746362674-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62607-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหาและข้อขัดข้องในการบังคับใช้พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พุทธศักราช2530 ในการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการทั้งกรณีที่ เป็นการอนุญาโตตุลาการในประเทศและระหว่างประเทศ พร้อมทั้งศึกษาแนวทางแก้ไขข้อบกพร่องที่ปรากฏในพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พุทธศักราช2530 โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกฎหมายต้นแบบว่าด้วยอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศของคณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (UNCITRAL' S MODEL LAW) ผลการวิจัยพบข้อบกพร่องในการบังคับใช้พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พุทธศักราช2530 คือไม่ได้มีการกำหนดบทบัญญัติ เกี่ยวกับกรณีที่ถือเป็นการเริ่มต้นกระบวนการอนุญาโตตุลาการอันจะถือว่าทำให้อายุความสะดุดหยุดลง ความคลุมเครือในการตีความเรื่องผู้มีอำนาจพิจารณาของอำนาจของอนุญาโตตุลาการการขาดบทบัญญัติถึงหลักเกณฑ์ในการพิจารณาทำคำชี้ขาด ความไม่ชัดเจนของบทบัญญัติในการบังคับใช้เกี่ยวกับวิธีการแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการในกรณีที่คู่กรณีได้กำหนดจำนวนอนุญาโตตุลาการไว้ แต่ไม่ได้ตกลงเกี่ยวกับวิธีการแต่งตั้ง และไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการเพิกถอนคำชี้ขาดอันจะทำให้คำชี้ขาดไม่มีผลบังคับได้ต่อไป การศึกษาวิจัยนี้จึงเสนอแนะให้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พุทธศักราช2530 โดยเพิ่มบทบัญญัติในการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องข้างต้นโดยการนำกฎหมายต้นแบบว่าด้วยอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศมาเป็นแบบในการแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้กฎหมายอนุญาโตตุลาการของไทยมีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis is to study the problems and obstacles in the enforcement of the Arbitration Act B.E.2530 and to find solutions to those problems for settlement of disputes by domestic and international arbitration. This is carried out by analysis and comparison with the Model Law of The United Nations Commission on International Trade Law. (UNCITRAL’s Model Law). In the analysis, we found certain weak points of the Arbitration Act B.E. 2530 as follows : -There is no provision prescribing the commencement period in the arbitration proceeding, such a provision causes the interruption of prescription. -The vagueness of provision on competent person who determines the power of arbitration. -There is no provision prescribing the rule for making the award. -The vagueness of provision on the process to appoint arbitrator regarding the number of arbitrators have been specified by the parties except the process of appointment. -There is no rule for challenging the award. This thesis has suggested that the Arbitration Act B.E. 2530 should be amended by using the UNCITRAL’s Model Law as a model to ensure the efficiency of Thai arbitration act and international recognition.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectอนุญาโตตุลาการ-
dc.subjectการค้าระหว่างประเทศ-
dc.subjectArbitrators-
dc.subjectInternational trade-
dc.titleการปรับปรุงกฎหมายไทยเกี่ยวกับการอนุญาโตตุลาการ ว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ-
dc.title.alternativeReform Thai law on international commercial arbitration-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wilai_pr_front.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open
Wilai_pr_ch1.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Wilai_pr_ch2.pdf5.71 MBAdobe PDFView/Open
Wilai_pr_ch3.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open
Wilai_pr_ch4.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Wilai_pr_ch5.pdf44.61 MBAdobe PDFView/Open
Wilai_pr_ch6.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open
Wilai_pr_back.pdf7.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.