Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.authorสุนีย์ ปิยวรพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-09-04T04:02:44Z-
dc.date.available2019-09-04T04:02:44Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745794945-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62893-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทราบภูมิหลังก่อนการเข้าสู่อาชีพ, กระบวนการเข้าสู่อาชีพและลักษณะการถ่ายทอดทางอาชีพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับขั้นการเตรียมการถ่ายทำ (Pre-Production) และขั้นการถ่ายทำ (Production) ละครโทรทัศน์ อันได้แก่ บุคลากรหลังฉาก, นักแสดง และผู้เขียนบทโทรทัศน์ โดยศึกษาเฉพาะกรณีละครโทรทัศน์ เรื่อง “ขมิ้นกับปูน” ผลการวิจัยพบว่า การเข้าสู่อาชีพของบุคลากรหลังฉาก เป็นผลอันเนื่องมาจากการติดต่อสัมพันธ์กับผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงการบันเทิง ทำให้โครงสร้างของโอกาสเปิดให้บุคลากรเหล่านี้เข้าสู่อาชีพในที่สุด โดยที่สถาบันการศึกษาไม่ใช่ตัวเปิดโอกาสนี้แต่อย่างไร เนื่องจากบุคลากรส่วนใหญ่มิได้จบการศึกษามาโดยตรงสำหรับการเข้าสู่อาชีพของนักแสดง จะมีลักษณะเช่นเดียวกับบุคลากรหลังฉาก แต่ต้องอาศัยปัจจัยเกื้อหนุน เพิ่มคือ การมีรูปร่างหน้าตาดีเป็นสำคัญ และการมีความสามารถด้านการแสดงเป็นปัจจัยรองไป และสุดท้าย การเข้าสู่อาชีพของผู้เขียนบทโทรทัศน์ ก็เช่นเดียวกับบุคลากรที่กล่าวมาแล้ว แต่แตกต่างกันก็ตรงปัจจัยที่เกื้อหนุนให้เข้าสู่อาชีพคือ การมีความสามารถเฉพาะบุคคล (Gift) ในการเขียนบท สิ่งจูงใจให้เข้าสู่อาชีพ ในส่วนของบุคลากรหลังฉาก โดยส่วนใหญ่จะมิได้มีความมุ่งหวังที่จะมาประกอบอาชีพทางนี้ แต่เป็นไปด้วยเหตุผลที่ว่า เป็นงานที่แปลก , ดีกว่างานที่กำลังทำอยู่, มีภูมิลำเนาอยู่ใกล้สถานที่ทำงาน ยังไม่มีอาชีพ เป็นต้น แต่ในส่วนของนักแสดงพบว่า มีความสนใจในอาชีพนี้อยู่ก่อนแล้วเกือบทั้งสิ้น และสำหรับผู้เขียนบทโทรทัศน์นั้น สิ่งจูงใจให้เข้าสู่อาชีพคือ ความไม่มั่นคงของอาชีพนักแสดงที่ประกอบอยู่ก่อนเข้าสู่อาชีพผู้เขียนบท ตัวแทนในการถ่ายทอดทางอาชีพ (Agencies of Professional Socialization) ที่สำคัญที่สุดคือ กลุ่มอาชีพ หรือกลุ่มเพื่อนร่วมอาชีพ นอกจากนี้ยังเกิดจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง , สถาบันการศึกษา, สื่อมวลชน และประสบการณ์ที่ได้รับจากอาชีพอื่น-
dc.description.abstractalternativeThis research is aimed to know the social class background, the professionalization process, and the process of socialization on the job of staffs, actor and television play script writer in the pre-production and the production of T.V. drama “Kamin Kub Poon” The results of the study are as follows : There are three groups of professionals in the T.V. drama organization……. Production staffs, actors and television play script writer. First, the interpersonal relationship, not the education, makes a chance for the production staffs to get into a job, since most of them have not been relevantly educated. But for the other, they must have some more qualifications than the same one mentioned….. the actors must be good-looking, and also be, it possible, capable of acting, meanwhile the professional gift is required for the television play script writer. Next, most of the production staffs were not eager to do this job before, but instead they think that it is a strange job, it is better than whatever they have done, the studio is not far from home, and they were unemployed, etc. But almost all the actors, on the contrary, usually paid attention to this career before, and the insecurity of occupation is the motivation to be the television play scrip writer. Finally, the most important agencies of professional socialization are professional companies. In addition, the others are learning by themselves, education, mass media, and experiences from the past occupation-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectละครโทรทัศน์-
dc.subjectโทรทัศน์ -- การผลิตและการกำกับรายการ-
dc.subjectTelevision play-
dc.subjectTelevision -- Production and direction-
dc.titleการเข้าสู่อาชีพของบุคลากรในการผลิตละครโทรทัศน์กรณีศึกษา : ละครโทรทัศน์ เรื่อง "ขมิ้นกับปูน"-
dc.title.alternativeProfessional socialization of television drama production personnels : a case study of "Kamin Kub Poon"-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunee_pi_front_p.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_ch1_p.pdf3.2 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_ch2_p.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_ch3_p.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_ch4_p.pdf8.97 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_ch5_p.pdf12.29 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_ch6_p.pdf5.47 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_ch7_p.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_pi_back_p.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.