Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธาตรี ใต้ฟ้าพูล-
dc.contributor.authorลภัสดาศรณ์ โชคหิรัญธนากูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T02:21:04Z-
dc.date.available2019-09-14T02:21:04Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62985-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจรูปแบบการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภคตราสินค้าของเจเนอเรชั่นมี ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจแบบวัดครั้งเดียว โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่นมีทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุตั้งแต่ 18-48 ปี ในกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ซึ่งข้อมูลที่ได้จะนำไปประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS for Windows และทำการวิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จัดกลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยหรือตัวประกอบ ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการดำเนินชีวิตของเจเนอเรชั่นมีแบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้ 1) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบมองโลกในแง่ดี 2) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบดูดีมีสไตล์ 3) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบคนดีรุ่นใหม่ 4) รูปแบบชีวิตแบบมุ่งมั่นเพื่อความสำเร็จ 5) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบเฮฮาปาร์ตี้ 6) รูปแบบชีวิตแบบไม่มีโรคคือลาภอันประเสริฐ และ 7) รูปแบบชีวิตแบบเสพติดสื่อ 2. พฤติกรรมการบริโภคตราสินค้าของเจเนอเรชั่นมีพบว่าตราสินค้าที่เจเนอเรชั่นมีใช้ส่วนใหญ่จะเป็นตราสินค้าเดียวกันกับตราสินค้าที่ชื่นชอบแสดงให้เห็นว่าเจเนอเรชั่นมีมักจะเลือกใช้ตราสินค้าที่ตัวเองชื่นชอบ อย่างไรก็ตามหากประเภทสินค้ามีระดับความเกี่ยวพันสูงอย่างรถยนต์เจเนอเรชั่นมีจะชื่นชอบตราสินค้าที่มีภาพลักษณ์และราคาที่สูงกว่าตราสินค้าที่ใช้ซึ่งผลการวิจัยที่ดังกล่าวมีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของเจเนอเรชั่นมีอย่างแท้จริง-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the lifestyle and brand consumption behavior of Generation me which is a quantitative research by using a questionnaire as a tool to collect data from the sample group which is male and female, aged 18-48 years in Bangkok in the amount of 400 people. The data will be processed by SPSS for Windows and statistical analysis using descriptive statistics analysis, frequency, percentage, mean and standard deviation from organizing the pattern of lifestyle by analyzing factor, the research found that as following: 1. The lifestyle of Generation me is divided into seven groups 1) Positive Thinking 2) Fashionista 3) Good Young Blood 4) Earnestness 5) Party Retreats 6) Salubrity, and 7) Media Addiction 2. The brand consumption behavior of Generation me that the sample group has used is mostly the same brand as the favorite brand. It shows that they often choose to use their own favorite brands. However, if the product category has a high level of relevance like a car, they tend to love the brand with the image and price that is higher than the brand they used which the results of the research are truly consistent with the characteristics of the Generation me.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.843-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationBusiness-
dc.titleรูปแบบการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภคตราสินค้าของเจเนอเรชั่นมี-
dc.title.alternativeLifestyle And Brand Consumption Behavior Of Generation Me-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorTatri.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.843-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6084678028.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.