Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63263
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวงศ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.advisorเสาวนีย์ วิจิตรโกสุม-
dc.contributor.authorลือชัย ครุธน้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-09-14T03:04:36Z-
dc.date.available2019-09-14T03:04:36Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63263-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายตัวของช้างป่าและรูปแบบการเคลื่อนย้ายของช้างป่าและศึกษาการกระจายและความหลากหลายของชนิดและพรรณไม้ที่เป็นอาหารของช้างป่าในพื้นที่รอยต่อเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ของตำบลป่าเด็งตั้งแต่ปีพศ.2518-ปีพศ.2554 ด้วยการใช้ภาพภ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม land sat 5 TM (พ.ศ.2535 และ ปี พ.ศ. 2554)ได้ ทำการสำรวจเส้นทางเดิน( Line transect )ของช้างป่า 6 เส้นทาง รวมระยะทางทั้งหมด 27.76  กิโลเมตร  ทั้ง 2 ฤดูกาล คือ ฤดูแล้ง และฤดูฝน เพื่อสำรวจเส้นทางเดินของช้างป่าและทำการสำรวจแจงนับไม้แบบ Line Plot System ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในช่วงปี  พ.ศ. 2518- 2535 พบว่า พื้นที่ป่าไม้ลดลงและมีพื้นที่โล่งและแหล่งน้ำเพิ่มขึ้นและในช่วงปีพศ.2535-2545 มีอัตราการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินประเภท พื้นที่ป่าไม้  พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ชุมชนและพื้นที่แหล่งน้ำ เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.12,  38.86 ,2.91และ 1.81 ตามลำดับ ส่วน พื้นที่โล่ง ว่างเปล่า พื้นที่ลดลงในอัตราร้อยละ 62.26 และในช่วงปี พศ.2545-2554   มีพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่ชุมชนเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.48 และ29.41 ตามลำดับ  ส่วนพื้นที่เกษตรกรรม  พื้นที่โล่ง ว่างเปล่าและแหล่งน้ำ มีพื้นที่ลดลงในอัตราร้อยละ22.26, 60.85 และ 46.36 ตามลำดับ และจากการสำรวจและพบพรรณไม้ทั้งหมด 140 ชนิด  จำนวน 57 วงศ์   และพันธุ์ไม้ที่เป็นอาหารช้างป่า ทั้งหมด 51 ชนิด จำนวน  28 วงศ์  และมีปริมาณมวลชีวภาพ รวมทั้งสิ้น 20,190.45 ตัน โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 718.50 – 6,924.56 ตัน-
dc.description.abstractalternativeThis study aims to investigate the distribution and trekking pattern of elephants (Elephas maximus) corresponding with the distribution of diversity of elephant dietary plants at in adjacent area of Kaeng Krachan Natural Park, Pa Deng Sub-District, Kaeng Krachan District, Petchaburi Province, where is the important trekking trail and feeding site of elephants and confronts the severe crisis on conflict between local farmers and elephants. The land use of the study area and its changes during 1975 to 2011 has been investigated by interpreting the satellite image from Lansat-5 TM. Six lines transect along elephant feeding trails were surveyed in both dry and rainy season for 27.76 km totally in order to study trekking trails of elephants and conduct forest inventory by line plot system. The study on land use changes during 1975 to 2011 showed the decrease of forest area and the increase bare land and water body area. During 1992 to 2002, the forest area, agricultural area, community, and water body increased by 4.12%, 38.86%, 2.91%, and 1.81%, respectively meanwhile the bare land area decreased by 62.26%. During 2002 to 2011, the forest area and community increased by 3.48% and 29.41%, respectively meanwhile the agricultural area, bare land, and water body decreased by 22.26%, 60.85%, and 46.36%, respectively. The survey along six lines transect revealed that there were totally 140 species from 57 families of timber observed which include 51 species from 29 families of elephant dietary plants. Biomass found in the lines transect was totally 20,190.45 tons which ranges from 718.50 – 6,924.56 tons. Huay Rae - Hub Pla Kang trail found the greatest amount of biomass which is 6,924.56 tons.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1371-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectช้างเอเชีย -- อาหาร-
dc.subjectช้างเอเชีย -- ไทย -- เพชรบุรี-
dc.subjectช้างเอเชีย -- การกระจายทางภูมิศาสตร์-
dc.subjectAsiatic elephant -- Food-
dc.subjectAsiatic elephant -- Thailand -- Phetchaburi-
dc.subjectAsiatic elephant -- Geographical distribution-
dc.subject.classificationEnvironmental Science-
dc.titleการกระจายตัวของช้างป่า (Elephas maximus) ในพื้นที่รอยต่อเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตำบลป่าเด็ง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี-
dc.title.alternativeDistribution Of Asian Elephant (Elephas Maximus) In Adjacent Areas Of Pa Deng Sub-district And Keang Krachan National Park-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSthavivo@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSaowanee.W@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1371-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5387863320.pdf11.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.