Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63375
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งระวี สมะวรรธนะ-
dc.contributor.authorมนัสชนก กองนักวงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T03:09:20Z-
dc.date.available2019-09-14T03:09:20Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63375-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษากีฬายิมนาสติกโดยใช้หลักการจัดการความปลอดภัยที่มีต่อการป้องกันการบาดเจ็บของนักเรียนประถมศึกษา โดย 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนการป้องกันการบาดเจ็บในกีฬายิมนาสติกก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนการป้องกันการบาดเจ็บในกีฬายิมนาสติกหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นนักเรียนประถมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จำนวน 64 คน แบ่งออกเป็นสองกลุ่มๆ ละ 32 คน กลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษากีฬายิมนาสติกโดยใช้หลักการจัดการความปลอดภัยที่มีต่อการป้องกันการบาดเจ็บ และนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษากีฬายิมนาสติกแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้พลศึกษากีฬายิมนาสติกโดยใช้หลักการจัดการความปลอดภัยที่มีต่อการป้องกันการบาดเจ็บ จำนวน 8 แผน แบบวัดพฤติกรรมการป้องกันการบาดเจ็บ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยค่า”ที” ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนการป้องกันการบาดเจ็บในกีฬายิมนาสติกของนักเรียนกลุ่มทดลอง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนการป้องกันการบาดเจ็บในกีฬายิมนาสติกของนักเรียนหลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study the effects of Physical Education Learning Management in Gymnastic using safety principle on injuries prevention of elementary schools students by comparing the average scores of safety principles prevention in gymnastic of: 1) the experimental and the control groups before and after implementation, and 2) between the experimental and the control groups before and after implementation. This study was quasi-experimental research. The sample were 64 elementary schools’ students using purposive selection method and equally divided into two groups of 32 students each. The first group was the experimental group, study under the physical education learning management gymnastic using safety principles prevention.  The second group was the control group, study in traditional method. The research instruments were eight lesson plans using the physical education learning management gymnastic using safety principles prevention and the Injury prevention behavior measurement. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test. The research findings were as follows; 1) The average score of safety principles prevention in gymnastic of an experimental group after implementation were higher than before implementation with statically significant at 0.05 2) The average score of safety principles prevention in gymnastic of an experimental group after implementation were higher than the control group with statically significant at 0.05 -
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1440-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษากีฬายิมนาสติกโดยใช้หลักการจัดการความปลอดภัยที่มีต่อการป้องกันการบาดเจ็บของนักเรียนประถมศึกษา-
dc.title.alternativeEffects Of Physical Education Learning Management In Gymnastic Using Safety Principles On Injuries Prevention Of Elementary Schools Students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorRungrawee.Sa@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1440-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6083377027.pdf28.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.