Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63392
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pisit Tangkijvanich | - |
dc.contributor.advisor | Nattiya Hirankarn | - |
dc.contributor.author | Apichaya Khlaiphuengsin | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Medicine | - |
dc.date.accessioned | 2019-09-14T03:12:58Z | - |
dc.date.available | 2019-09-14T03:12:58Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63392 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2018 | - |
dc.description.abstract | B-cell activating factor (BAFF), an important cytokine for B lymphocyte activation that implicated in the pathogenesis and disease progression chronic hepatitis B (CHB) patients. This study aimed at evaluating clinical correlation and prognostic role of plasma BAFF, BAFF receptor and related polymorphisms in patients with CHB undergoing pegylated interferon (peg-IFN) treatment and HBV-related hepatocellular carcinoma (HCC). This study shown that BAFF levels were elevated during treatment but decreased to pre-treatment levels after peg-IFN cessation in HBeAg-positive CHB patients. Patients with HCC had significantly higher BAFF levels compared with the non-HCC group and healthy controls. Moreover, the frequency of rs9514828 CT+TT genotypes were higher distributed in patients with chronic HBV infection compared with healthy controls. In summary, low baseline BAFF was associated with treatment response to peg-IFN and high baseline BAFF levels showed clinical correlation in terms of disease severity and overall survival in HBV-related HCC patients. These data suggest that BAFF may play an essential role in predicting a treatment response and promoting tumor development and progression. | - |
dc.description.abstractalternative | B-cell activating factor (BAFF) เป็นไซโตไคน์ที่สำคัญชนิดหนึ่งในการกระตุ้นการทำงานของ B cell ซึ่งอาจจะมีความสำคัญในการทำนายการดำเนินของโรค และการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา pegylated interferon (peg-IFN) ของผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีแบบเรื้อรัง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสำคัญของ BAFF, BAFF receptor และความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนนี้ในการทำนายการดำเนินของโรคและการตอบสนองต่อการรักษาของผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีแบบเรื้อรังและผู้ป่วยมะเร็งตับที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี จากผลของการศึกษานี้ พบว่าระดับการแสดงออกของ BAFF ที่น้อยนั้นสัมพันธ์กับการตอบสนองต่อการรักษาในกลุ่มผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีแบบเรื้อรังนั้น และการแสดงออกของ BAFF นั้นจะเพิ่มขึ้นเมื่อผู้ป่วยได้รับยา peg-IFN และลดลงเมื่อหยุดการรักษา นอกจากนี้ ผู้ป่วยมะเร็งตับที่มีสาเหตุจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีมีระดับการแสดงออกของ BAFF สูงกว่ากลุ่มผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีแบบเรื้อรังและกลุ่มคนปกติ และยังพบว่าความถี่ของ single nucleotide polymorphism (SNP) ของยีน BAFF ณ ตำแหน่ง rs9514828 จีโนไทป์ CT+TT ในกลุ่มผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีแบบเรื้อรังนั้นมากกว่ากลุ่มคนปกติด้วย โดยสรุปแล้ว การศึกษาในครั้งนี้พบว่าการแสดงออกของ BAFF ในปริมาณน้อยมีความสัมพันธ์กับการทำนายการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีแบบเรื้อรังด้วยยา peg-IFN ตรงกันข้ามกับการแสดงออกของ BAFF ในปริมาณมากมีความสัมพันธ์กับการดำเนินของโรคในผู้ป่วยมะเร็งตับที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี รวมถึงการอัตราการรอดชีวิตในผู้ป่วย ดังนั้น BAFF มีบทบาทหนึ่งที่สำคัญในการทำนายผลของการรักษา รวมไปถึงเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของมะเร็งและการดำเนินของโรคด้วย | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.339 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.classification | Biochemistry | - |
dc.subject.classification | Immunology and Microbiology | - |
dc.subject.classification | Medicine | - |
dc.title | B-cell activating factor as an immunological marker of disease outcome and treatment response in patients with chronic hepatitis B virus infection | - |
dc.title.alternative | บทบาทของตัวบ่งชี้ทางระบบภูมิคุ้มกันของ B cell activating factor ในการทำนายการดำเนินของโรคและการตอบสนองต่อการรักษาในผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีแบบเรื้อรัง | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | - |
dc.degree.level | Doctoral Degree | - |
dc.degree.discipline | Medical Biochemistry | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.email.advisor | Pisit.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Nattiya.H@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2018.339 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5774769230.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.