Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6339
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑารัตน์ เอื้ออำนวย-
dc.contributor.advisorฐิติยา เพชรมุนี-
dc.contributor.authorลิขิต ถนอมเชื้อ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2008-03-21T07:25:23Z-
dc.date.available2008-03-21T07:25:23Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741424892-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6339-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงการให้ความร่วมมือเป็นพยานบุคคลในคดีอาญาของประชาชนในสังคม (2) ศึกษาความเชื่อมั่นของประชาชนต่อประสิทธิภาพของการคุ้มครองความปลอดภัยของพยานบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 และ 3) เพื่อเสนอแนะมาตรการที่เหมาะสมกับการคุ้มครองพยานบุคคลในสังคมไทย การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญจากกลุ่มประชาชนผู้ที่เดินทางมาขอรับบริการที่สถานีตำรวจนครบาลลุมพินี จำนวน 400 คน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้รับไปทำการประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS วิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Chi-Square และ t-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า เพศชายให้ความร่วมมือเป็นพยานในคดีอาญามากกว่าเพศหญิงพยานที่ประกอบอาชีพแตกต่างกันให้ความร่วมมือเป็นพยานบุคคลในระดับที่แตกต่างกัน และพยานที่รู้สึกไม่ปลอดภัยให้ความร่วมมือเป็นพยานบุคคลในระดับต่ำ นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบต่อไปอีกว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับมาตรการพิเศษในพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 อันได้แก่การเปลี่ยนแปลงชื่อ-นามสกุล การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัย และการจัดหาอาชีพให้ใหม่ แสดงให้เห็นว่ามาตรการพิเศษเหล่านี้ไม่สามารถทำให้พยานรู้สึกปลอดภัย ดังนั้น รัฐควรแสวงหามาตรการที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพสังคมไทยด้วย จึงจะมีผลทำให้พยานรู้สึกปลอดภัยอยากให้ความร่วมมือ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมต่อไปen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study (1) the cooperation to be a witness in criminal cases of the people. (2) peoples confidence toward the safety witness protection programs under the Witness Protection in Criminal Case Act 2003 and (3) to recommend the suitable and practical measures for witness protection in Thai society. The research is a field research that used quantitative methods. Questionnaires were conducted with 400 people who walk in and asked for some services from police at the Lumpini Police Station, selected by accidental random sampling. The SPSS computer program processed the collected data and described the analyzed data in Percentage, Mean, Standard Deviation, Chi-Square and t-test at the 0.05 level of significance. The finding revealed that male gives much more cooperation to be a witness in criminal cases than female gives. The witnesses with different occupations express different level of their cooperaton. The witnesses who feel insecure tend to show less cooperation. Furthermore, the research found that most of the samples did not agree with the use of special measures under the Witness Protection in Criminal Case Act 2003, such as establishing a new identity for a witness (name, address and occupation) etc. It seems that these measures are not practical because they could not help witnesses feel much more safety than before. Thus, Thai government should formulate the new measures with regard to the local society that fit to promote safety witnesses protection and cooperation for positive impacts on crime prevention and suppression in the future.en
dc.format.extent1475245 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.373-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยานบุคคล -- การคุ้มครอง -- ไทยen
dc.subjectพยานบุคคล -- การคุ้มครองความปลอดภัยen
dc.subjectพยานบุคคลen
dc.subjectคดีอาญาen
dc.subjectพยานบุคคล -- การคุ้มครอง -- ไทยen
dc.titleการให้ความร่วมมือเป็นพยานบุคคลในคดีอาญา : ศึกษากรณีสถานีตำรวจนครบาลลุมพินีen
dc.title.alternativeThe cooperation to be a witness in criminal cases : a case study of the Lumpini Police Stationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorjutharat.u@chula.ac.th-
dc.email.advisorThitiya.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.373-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Likhit.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.