Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6343
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorปริณัฐ แซ่หวุ่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-21T07:56:14Z-
dc.date.available2008-03-21T07:56:14Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741758553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6343-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาและออกแบบระบบต้นทุฐานกิจกรรมสำหรับการผลิตนักศึกษา ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยจำกัดขอบเขตการศึกษาอยู่แต่เฉพาะต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆ เท่าที่เกิดขึ้นในระดับคณะโดยไม่รวมถึงต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆ ของหน่วยงานสนับสนุนในระดับมหาวิทยาลัย ขั้นตอนในการออกแบบระบบต้นทุนฐานกิจกรรม จะประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ตามลำดับต่อไปนี้ 1. การกำหนดวัตถุประสงค์และสิ่งที่ต้องการคิดต้นทุน 2. การวิเคราะห์และระบุกิจกรรม 3. การวิเคราะห์และระบุทรัพยากรประเภทต่างๆ 4. การกำหนดตัวผลักดันทรัพยากร 5. การระบุต้นทุนทรัพยากรเข้าสู่กิจกรรมต่างๆ 6. การกำหนดตัวผลักดันกิจกรรม 7. การคำนวณต้นทุนของแต่ละกิจกรรมเข้าสิ่งที่ต้องการคิดต้นทุน ผลกจากการออกแบบระบบต้นทุนฐานกิจกรรม สามารถคำนวณต้นทุนการผลิตนักศึกษาต่อคน ได้อย่างถูกต้องใกล้เคียงความจริงมากขึ้น ไม่ใช่ทราบเพียงตัวเลขโดยรวมในการผลิตนักศึกษา แต่สามารถบอกได้ว่ากิจกรรมนั้นๆ มีต้นทุนเป็นจำนวนเท่าใด การนำระบบต้นทุนฐานกิจกรรมไปใช้จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากกว่าระบบต้นทุนแบบเดิมมาก ดังนั้นผู้บริหารจึงต้องประเมินว่าประโยชน์ที่จะได้รับ คุ้มกับเวลาและค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปหรือไม่ด้วยen
dc.description.abstractalternativeTo study and design the activity based costing system (ABC) for producing the undergrade : case study at the Faculty of Industrial Technology, Suan Sunandha Rajabhat University. The scope of this thesis was to study cost and the expenses that occurred in faculty level not include the supporting cost and most expenses in university level. The seven algorithms for ABC system design composed by 1. Identify the objective and cost object. 2. Activities identification and analysis. 3. Determine the resources needed. 4. Resource driver assignment. 5. The resources loaded to activity. 6. Activity driver assignment. 7. Activity cost calculation. The result of activity based costing system was to able know the unit cost of student producing rather than the Lum-Sum expenses of student in department more than this allow us to determine the cost of activity. Application of the ABC system must have the goal and objective specific because we will use a lot of time and resource to do it.en
dc.format.extent1911276 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1453-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมen
dc.subjectการบัญชีต้นทุนกิจกรรมen
dc.titleการศึกษาระบบต้นทุนฐานกิจกรรมสำหรับการผลิตนักศึกษา กรณีศึกษา : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาen
dc.title.alternativeA study on activity based costing system for producing the undergrade case study : the Faculty of Industrial Technology, Suan Sunandha Rajabhat Universityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorrsuthas@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1453-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parinut.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.