Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorศุภวิชญ์ ดำรงค์กิจการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T04:45:25Z-
dc.date.available2019-09-14T04:45:25Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63572-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวางแผนกำลังคนของคลินิกทันตกรรมพิเศษ ซึ่งขาดอัตรากำลังที่จะรองรับการเติบโตขององค์กร และการมอบหมายงานที่ไม่เหมาะสมส่งผลให้เจ้าหน้าที่ทำงานหนัก จึงมีแนวคิดที่จะแก้ปัญหาการขาดอัตรากำลังและการวิเคราะห์งานให้เหมาะสมกับหน้าที่ โดยเริ่มจากจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ทำให้ทราบถึงกระบวนการดำเนินงาน (IDEF0) โครงสร้างองค์กร (OBS) กรอบอัตรากำลังปัจจุบัน โดยการสร้างเมทริกซ์เพื่อดูว่าผู้รับผิดชอบแต่ละงานมีตำแหน่งใดบ้าง จากนั้นจึงทำการวิเคราะห์ขอบเขตของงานด้วยการจำแนกงาน (WBS )และความต้องการทางด้านกำลังคน (Demand Analysis) โดยพิจารณาในส่วนของภาระงาน (WL) และผู้รับผิดชอบตามคุณสมบัติที่ระบุไว้ใน JD และ JS นอกจากนี้ยังต้องวิเคราะห์การตอบสนองต่อความต้องการทางด้านกำลังคน (Supply Analysis) โดยพิจารณาปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย คือ อัตราการขาดงาน (AR) และอัตราการหมุนเวียนของพนักงาน (TR) ซึ่งอัตราการขาดงานและอัตราการหมุนเวียนของพนักงานเฉลี่ยอยู่ที่ 5% และ 6% ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปกติ ดังนั้น กำลังคนที่มีอยู่ในปัจจุบันของคลินิกทันตกรรมพิเศษในปี 2558 มีทั้งหมด 59 คน เมื่อทราบกำลังคนในปัจจุบันแล้ว จึงนำมาวิเคราะห์ส่วนต่างทางด้านกำลังคน (Gap Analysis) โดยเปรียบเทียบระหว่างกำลังคนที่ต้องการ กับกำลังคนที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ส่วนต่างนี้ทำให้ทราบว่าการให้บริการคลินิกทันตกรรมพิเศษมีชั่วโมงการว่างงานรวมอยู่ที่ 22,375 ชั่วโมงต่อปี และมีชั่วโมงการทำงานมากเกินไปอยู่ที่ 30,162 ชั่วโมงต่อปี ซึ่งเมื่อทำการแก้ไข มีชั่วโมงการว่างงานรวมอยู่ที่ 16,581 ชั่วโมงต่อปี ลดลงร้อยละ 25.89 และชั่วโมงการทำงานมากเกินไปรวมอยู่ที่ 25,460 ชั่วโมงต่อปี ลดลงร้อยละ 15.59 และได้นำชั่วโมงการทำงานที่มากเกินไปหลังจากปรับปรุงแล้วนำไปทำการวางแผนเพิ่มงานล่วงเวลา (OT) โดยเฉลี่ยต้องเปิดการทำงานล่วงเวลาเพิ่ม 21 ยูนิตต่อวัน สุดท้ายทำการวางแผนอัตรากำลังในอนาคตโดยการใช้เทคนิคการพยากรณ์แบบฤดูกาลของวินเตอร์และการพยากรณ์แบบวิเคราะห์การถดถอย โดยเลือกรูปแบบการพยากรณ์จากค่าความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ ทำให้สามารถวิเคราะห์กำลังคนที่ต้องการของคลินิกทันตกรรมพิเศษปี 2559 โดยส่วนต่างของกำลังคนในปัจจุบันกับอัตรากำลังที่ต้องการในอนาคตได้-
dc.description.abstractalternativeThis paper studies manpower management of a University’s Dental Clinic (UDC). Currently, the UDC lacks precise job descriptions and job assignments resulting in more workload, have an effect on nurses resign from a job. The study begins with investigating the existing work process flows of SDC by constructing Organization Breakdown Structure (OBS), Work Breakdown Structure (WBS), Job description (JD) and Job specification (JS). Besides, Analysis of demand by consider work load (WL) in JD/JS form. In the other, we must supply analysis by Absenteeism Rate and Turnover Rate. So, Absenteeism Rate and Turnover Rate is normally of UDC for changing the gap analysis in order that manpower management could be productively rearranged. Employing the management tools ECRS principle and assign workload in Human Resource Availiability (HRA) and Human Resource Overallocation (HRO), the results reveal that HRA have decrease annually from 22,375 hour to 16,581 hour or 25.89 percent and HRO have decrease annually from 30,162 hour to 25,460 hour or 15.59 percent.Value Added activity (VA) have 4 activities are working time 63.35 minutes or 7.53 percent,. Resulting the UDC is planning evaluation by forecasting technique. Accordingly, UDC succeeds in planning a workload plan of each service unit by work measurement technique.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1079-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการจัดการกำลังคนของคลินิกทันตกรรมพิเศษ-
dc.title.alternativeMan Power Management of Special Dental Clinic-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1079-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770317521.pdf6.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.