Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสงบทิพย์ พงศ์สถาบดี-
dc.contributor.authorพิมพ์สิรินทร์ แดงสระน้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-24T06:09:19Z-
dc.date.available2008-03-24T06:09:19Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741421893-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6367-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาการกำจัดสารฟอร์มัลดีไฮด์ออกจากน้ำเสีย โดยการออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง ถ่านกัมมันต์ที่ปรับปรุงแล้วใช้เป็นตัวรองรับ ไททาเนียมไดออกไซด์ที่ถูกทำให้ยึดเกาะอยู่บนถ่านกัมมันต์ ที่เตรียมขึ้นด้วยเทคนิค hydrolysis precipittion ถูกใช้ป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในระบบ กระบวนการเชิงเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงอัลตราไวโอเลตของไททาเนียมไดออกไซด์ ถูกศึกษาเพื่อกำจัดสารฟอร์มัลดีไฮด์ออกจากน้ำเสียสังเคราะห์ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ ปัจจัยที่ศึกษาได้แก่ ปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยา ค่าความเป็นกรด-เบส และความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายฟอร์มัลดีไฮด์ จากผลการศึกษาพบว่าที่ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาเท่ากับ 10 กรัมต่อลิตรให้การกำจัดสารฟอร์มัลดีไฮด์สูงที่สุด นอกจากนี้ค่าความเป็นกรด-เบส และค่าเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายฟอร์มัลดีไฮด์ ต่างมีอิทธิพลอย่างมากต่อการกำจัดฟอร์มัลดีไฮด์ด้วยกระบวนการนี้ การกำจัดสารฟอร์มัลดีไฮด์ออกจากน้ำเสียโดยการออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยา จะได้ผลดีเมื่อทำในภาวะที่เป็นกรด ยิ่งไปกว่านั้นงานวิจัยนี้ยังพบว่าความสามารถในการขจัดฟอร์มัลดีไฮด์จะเพิ่มขึ้นอย่างมาก เมื่อมีการเติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ลงไปในระบบ โดยเมื่อเติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่เข้มข้นเท่ากับ 2% โดยปริมาตรลงไปในระบบ ฟอร์มัลดีไฮด์สามารถถูกขจัดออกไปได้จนหมดภายในเวลา 40 นาที ในขณะที่ระบบที่ไม่มีการเติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ฟอร์มัลดีไฮด์จะถูกขจัดออกไปได้เพียง 60% อย่างไรก็ตามการหายไปของฟอร์มัลดีไฮด์ภายในระบบนั้น ยังรวมถึงความสามารถในการระเหยของฟอร์มัลดีไฮด์อีกด้วย โดยที่เวลา 60 นาทีฟอร์มัลดีไฮด์จะระเหยได้ถึง 14.3%en
dc.description.abstractalternativeTo study removal of synthetic embalming wastewater by photocatalytic oxidation. Modified activated carbon was used as a supporter. Titanium dioxide supported on activated carbon was chosen as a photocatalyst that prepared by hydrolysis precipitation. Photocatalytic by Titanium dioxide/UV process was evaluated for degradation of the synthetic formaldehyde solution using a lab scale-batch reactor. The effects of catalyst dosage, pH and initial concentration of formaldehyde solution were studied. From the experimental results, it was found that the highest efficiency of formaldehyde degradation was achieved when employing the dosage catalyst 1 g/l. Additional, both pH and initial concentration of formaldehyde had a significant effect on the removal. The photocatalytic degradation of formaldehyde was favored under an acidic condition. Furthermore, the experiment results showed that photocatalytic efficiency was enhanced when adding hydrogen peroxide. At hydrogen peroxide concentration was 2% by volume, formaldehyde removal complete within 40 minutes. While no adding hydrogen peroxide in system, formaldehyde was removing only 60%. However, formaldehyde removal include volatilibity of its which at 60 minutes formaldehyde can loss 14.3%.en
dc.format.extent2346809 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟอร์มัลดีไฮด์en
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดสารประกอบอินทรีย์en
dc.subjectการเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงen
dc.titleออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงของสารประกอบอินทรีย์ในน้ำเสียen
dc.title.alternativePhotocatalytic oxidation of organic compounds in wastewateren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpsangob@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pimsirin_Da.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.