Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63698
Title: Surface roughness improvement for passenger car hood die manufacturing process
Other Titles: การปรับปรุงความหยาบผิวสำหรับกระบวนการผลิตแม่พิมพ์ฝากระโปรงรถยนต์
Authors: Worachet Onngam
Advisors: Somchai Poorjindanet
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Somchai.Pua@Chula.ac.th
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Surface roughness of a die is a crucial factor for making a high-quality car hood. This research thesis is made for improving die surface quality in die manufacturing process. If the performance of milling process is not enough, it consumes a lot of time for doing polishing and might result in poor die quality that does not meet customer’s need. Therefore, the purpose of this research is to improve the CNC milling process. Tools used for milling and all relate parameters are studied in order to figure out the most appropriate condition for the finish milling process. Nowadays, a 1-blade cutting tool is used with 5,500-rpm Cutting speed, 4,800-mm/min Feed, 0.1-mm Dept. of cut, and 0.5-mm Pitch for doing the finish milling process. Parameters in each machining condition designed by the program are inputted into the CNC machine for doing the milling process with a die specimen that is the same as actual of the company. All experiments are designed by the Surface Response Methodology; all parameters are analyzed by the program in order to find out the best parameters for use. The result from this improvement shows that using a 3-blades tool with 11,670-rpm Cutting speed, 3,563-mm/min Feed, 0.1-mm Dept. of cut, and 0.5-mm Pitch literally provides the best result. This new machining condition significant decreases the surface roughness which brings about the elimination of polishing process, total time reduction, and cost reduction.
Other Abstract: ความหยาบผิวของแม่พิมพ์เป็นปัจจัยสำคัญในการผลิตฝากระโปรงรถยนต์ให้ได้คุณภาพ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงได้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตแม่พิมพ์ให้ได้ความหยาบผิวที่น้อยลง หากกระบวนการกัดมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอจะทำให้ใช้ระยะเวลาในการขัดมาก และอาจส่งผลให้ได้คุณภาพแม่พิมพ์ที่ไม่ตรงต่อความต้องการของลูกค้า ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นไปที่การแก้ปัญหาการกัดด้วยเครื่อง CNC เครื่องมือที่ใช้ในการกัดและค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ถูกนำมาศึกษาเพื่อหาเครื่องมือและพารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดที่ใช้ในกระบวนการกัดละเอียด ปัจจุบันใช้เครื่องมือในการกัดละเอียดแบบ 1 ใบมีด ค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในกระบวนการคือ Cutting speed เท่ากับ 5,500 rpm Feed เท่ากับ 4,800 mm/min Dept. of cut เท่ากับ 0.1 mm และระยะ Pitch เท่ากับ 0.5 mm ค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในการทดลอง ถูกออกแบบโดยโปรแกรมและป้อนลงในเครื่อง CNC เพื่อใช้ในการกัดชิ้นงานทดลองที่มีความเหมือนกับแม่พิมพ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตจริง ทั้งนี้การทดลองถูกออกแบบขึ้นโดยใช้วิธีการพื้นผิวตอบสนอง และใช้โปรแกรมทางสถิติในการวิเคราะห์และหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดเพื่อนำมาใช้งาน  หลังจากปรับปรุงความเรียบผิวของแม่พิมพ์ พบว่าการใช้ใบมีดแบบ 3 ใบ โดยใช้ค่า Cutting speed เท่ากับ 11,670 rpm Feed เท่ากับ 3,563 mm/min Dept. of cut เท่ากับ 0.1 mm และระยะ Pitch เท่ากับ 0.5 mm ให้ผลที่ดีที่สุด ซึ่งทำให้ความหยาบผิวลดลงเป็นอย่างมาก ทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องขัดด้วยมืออีกต่อไป ส่งผลให้ระยะเวลาทั้งหมดในกระบวนการปรับความเรียบผิวรวมถึงต้นทุนในการผลิตแม่พิมพ์ลดลง 
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2018
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63698
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.198
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2018.198
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6071222321.pdf5.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.