Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6376
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา-
dc.contributor.authorเพ็ญแข ดวงขวัญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2008-03-24T07:34:01Z-
dc.date.available2008-03-24T07:34:01Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741422423-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6376-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวแปร อายุ การประกอบอาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส สถานภาพในครอบครัว จำนวนปีที่ขาดความต่อเนื่องในการเรียน สื่อการเรียน การใช้เวลาเพื่อการเรียน คุณภาพการพบกลุ่ม ทัศนคติและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มหมวดวิชา พื้นฐานของนักศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกรุงเทพมหานคร จากกลุ่มตัวอย่างจำแนกจำแนกตามรายวิชา 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร อายุ การประกอบอาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส สถานภาพในครอบครัว จำนวนปีที่ขาดความต่อเนื่องในการเรียน สื่อการเรียน การใช้เวลาเพื่อการเรียน คุณภาพการพบ กลุ่ม ทัศนคติ แรงจูงใจใฝ่าสัมฤทธิ์ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกลุ่มหมวดวิชาพื้นฐานของนักศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียน กรุงเทพมหานคร จากกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามรายวิชา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 410 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า วิชาภาษาไทย ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ ระดับ .01 ได้แก่คุณภาพการพบกลุ่ม ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ได้แก่ทัศนคติระยะเวลาที่ขาดความต่อเนื่องในการเรียน การประกอบ อาชีพ และการใช้เวลาเพื่อการเรียน (สถิติการพบกลุ่ม) วิชาคณิตศาสตร์ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวก กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ การประกอบอาชีพ ระยะเวลา ที่ขาดความต่อเนื่องในการเรียน สถานภาพสมรส คุณภาพการพบกลุ่ม การใช้เวลาเพื่อการเรียน (สถิติการพบกลุ่ม) และสื่อการเรียน (สื่อสิ่งพิมพ์) วิชาวิทยาศาสตร์ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ได้แก่การใช้เวลาเพื่อการเรียน (สถิติการพบกลุ่ม) ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ได้แก่ระยะเวลาที่ขาดความต่อเนื่องในการเรียน คุณภาพการพบกลุ่ม สถานภาพในครอบครัว และสื่อการเรียน (สื่อคอมพิวเตอร์) วิชาภาษาอังกฤษ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ได้แก่สถานภาพสมรส สื่อการเรียน (สื่อบุคคล) ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ได้แก่คุณภาพระยะเวลาที่ขาดความต่อเนื่องในการเรียน ทัศนคติ การใช้เวลาเพื่อการเรียน (สถิติการพบกลุ่ม)en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the variables including age, occupation, income, marital status, status in their families, leave of absence study years, educational media, time spending for studying, effectiveness of group participation, attitude, and achievement motivation of lower secondary non-formal education students in non-formal education centers, Bangkok metropolis. 2) to study the relationship among each variable namely age, occupation, income, marital status, family dependent status, leave of absence study years, educational media, time spending for studying, effectiveness of group participation, attitude. And achievement motivation, and the result of study of each basic subject of lower secondary non-formal education students in non-formal education centers. Bangkok metropolis, In this study the survey method was used with closed-end questionnaires as a research tool. Data were gathered from 410 samples and analyzed by using Pearson{7f2019}s product moment correlation coefficientmodel. The results were as follows: The variable effectiveness of group participation was statistically significant at the .01 level and variables attitude, leave of absence study years, occupation, and time spending for studying (statistic from group participation) were statistically significant at the .05 level in there relationship to Thai achievement. The variables occupation, leave of absence study years, marital status, effectiveness of group participation, time spending for studying (statistic from group participation) and educational media (printed media) were statistically significant at the .05 level in there relationship to Mathematics achievement. The variable time spending for studying (statistic from group participation) was statistically significant at the .01 level and variables leave of absence study years, effectiveness of group participation, marital status, and educational media (computer media) were statistically significant at the .05 level in there relationship to Science achievement.The variables marital status and educational media (Human media) were statistically significant at the .01 level and variables effectiveness of group participation, leave of absence study years, attitude, and time spending for studying (statistic from group participation) were statistically significant at the .05 level in there relationship to English achievement.en
dc.format.extent2408855 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียน -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.subjectวิชาศึกษาทั่วไป -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มหมวดวิชาพื้นฐานของนักศึกษานอกโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeFactors affecting basic subject learning achievement of lower secondary non-formal education sutdents in non-formal education centers, Bangkok metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwirathep.p@chula.ac.th, wirathep@yahoo.com-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Penkhae_Du.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.