Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63864
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์ | - |
dc.contributor.author | สุกานดา ปานศรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-11-07T09:32:31Z | - |
dc.date.available | 2019-11-07T09:32:31Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63864 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้โอโซนควบคุมคุณภาพน้ำในสระว่ายน้ำ ขนาด 25 เมตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทดลองเติมโอโซนในน้ำสระว่ายน้ำปราศจากคลอรีนที่ได้เติมเชื้อ E. coli, S. aureus และ Ps. aeruginosa ปริมาณ 10⁷ CFU/ml แต่ละชนิดแยกกัน พบว่าเชื้อ E. coli และ Ps. aeruginosa มีอัตราการตายเร็วกว่า S. aureus โดยความเข้มข้นโอโซนละลายน้ำ 0.12-0.28 มิลลิกรัมต่อลิตร ลดเชื้อ E. coli และ S. aureus ลงได้ 7 log units และ 5-6 log units ตามลำดับ ในเวลา 1-2 นาที ความเข้มข้นโอโซนละลายน้ำ 0.11-0.17 มิลลิกรัมต่อลิตร ลดเชื้อ Ps. aeruginosa ลงได้ 7 log units ในเวลา 1-2 นาที โดยการเติมโอโซนที่อัตราการไหลของก๊าซโอโซนผสมสูงสุด คือ 2.5 ลิตรต่อนาที อย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 1 นาที มีความเข้มข้นโอโซนละลายในน้ำสระว่ายน้ำ 0.17 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถลดความขุ่นและสีในน้ำสระว่ายน้ำที่เติมเชื้อ E. coli, S. aureus และ Ps. aeruginosa ลงได้มากที่สุด โดยลดความขุ่นได้ 21.2, 9.4 และ 34.1% ตามลำดับ และลดสีของน้ำลงได้ 19.77, 18.97 และ 41.67% ตามลำดับ แต่ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของพีเอช และความกระด้าง ส่วน COD ของน้ำมีค่าลดลงเล็กน้อย เมื่อผสมน้ำอิ่มตัวด้วยโอโซนกับน้ำสระว่ายน้ำเติมเชื้อ S. aureus ปริมาณ 10⁷ CFU/ml ที่อัตราส่วน 1:2 1:4 และ 1:8 โดยปริมาตร พบว่าลดเชื้อลงได้ 5 log units, 3 log units และ 2 log units ตามลำดับ และเมื่อผสมน้ำอิ่มตัวด้วยโอโซน ที่อัตราการไหลของน้ำ 1 ลิตรต่อนาที กับน้ำสระว่ายน้ำเติมเชื้อ E. coli, S. aureus และ Ps. aeruginosa ปริมาณ 5×10² CFU/ml ที่อัตราการไหล 8 ลิตรต่อนาที ระยะเวลาสัมผัส 26 วินาที ไม่พบเชื้อจุลินทรีย์ทั้ง 3 ชนิดหลังการผสม ตรวจไม่พบโอโซนละลายในน้ำสระว่ายน้ำที่ผ่านการผสมกัน และตรวจพบก๊าซโอโซนในอากาศหลังการผสมของน้ำเท่ากับ 0.1 ppm โดยไม่เกินมาตรฐานของ WHO (2006) และมาตรฐาน ANSI (2009) กำหนด ดังนั้นการใช้โอโซนในการควบคุมคุณภาพน้ำสระว่ายน้ำจึงถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research’s aim was to study the feasibility of using ozone to control water quality in a 25 meters range swimming pool of Chulalongkorn University. The water sample was chlorine eliminated and divided into 3 treatments by inoculation either of E. coli, S. aureus or Ps. aeruginosa at 10⁷ CFU. Then all treatments were ozonated. The results showed that death rate of E. coli and Ps. aeruginosa were faster than S. aureus. Dissolved ozone at 0.12-0.28 mg/L could decrease E. coli and S. aureus at 7 and 5-6 log units, respectively in 1-2 minutes. While dissolved ozone at 0.11-0.17 mg/L decreased 7 log units of Ps. aeruginosa in 1-2 minutes of contact. Moreover, maximum flow rate of ozone gas continuously mixing at 2.5 L/min for 1 minute, resulted in ozone concentration of 0.17 mg/L that could decrease turbidity and color of water inoculated with E. coli, S. aureus and Ps. aeruginosa. The turbidity and color of water inoculated with E. coli, S. aureus and Ps. aeruginosa were decreased by 21.2, 9.4 and 34.1% as well as by 19.77, 18.97 and 41.67%, respectively. Though, the ozone mixing of 2.5 L/min for 1 minute did not affect to pH and hardness, COD was slightly decreased. Ozone saturated water was mixed with water inoculated with 10⁷ CFU/ml of S. aureus at 1:2, 1:4 and 1:8 ratio v/v. The results showed that S. aureus was decreased by 5, 3 and 2 log units, respectively. Mixing inoculated water with ozone saturated water at the ratio of 8:1 for 26 seconds resulted in total elimination of 5×10² CFU of either E. coli, S. aureus or Ps. aeruginosa. After 26 seconds of mixing none of ozone was detected in water while 0.1 ppm ozone was detected in the air. Therefore, the environmental qualities are reference with WHO (2006) and ANSI (2009) standard. The results indicated that using ozone to control swimming pool water quality could be an alternative practical way. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | โอโซน | en_US |
dc.subject | คุณภาพน้ำ | en_US |
dc.subject | สระว่ายน้ำ | en_US |
dc.subject | Ozone | en_US |
dc.subject | Swimming pools | en_US |
dc.subject | Water quality | en_US |
dc.title | ความเป็นไปได้ในการใช้โอโซนควบคุมคุณภาพน้ำในสระว่ายน้ำ | en_US |
dc.title.alternative | Feasibility of using ozone for water quality control in swimming pool | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Charnwit@sc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sukanda Pansri.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.