Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63914
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิยม ธำรงค์อนันต์สกุล | - |
dc.contributor.author | กาญจนา ศันสนียวรรธน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2019-11-14T02:09:22Z | - |
dc.date.available | 2019-11-14T02:09:22Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63914 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาผลของอุณหภูมิที่มีต่อค่าการบ่มตัวและค่ากำลังแรงยึดดึงของเรซินซีเมนต์ชนิดเซลฟ์แอดฮีซีฟ จำนวน 4 ชนิด (เคลียร์ฟิวเอสเอลูตทิง รีไลเอกซ์ยูร้อย แม็กซ์เซมอีไลท์ และ บิสเซม) การทดสอบแบ่งเป็น 4 ช่วงเวลา ได้แก่ ครั้งที่ 1 ทดสอบเรซินซีเมนต์แต่ละชนิดหลังจากได้รับจากผู้แทนจำหน่าย ภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 ทดสอบหลังจากเก็บเรซินซีเมนต์ไว้ที่อุณหภูมิ 4 และ 40 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 เดือน ครั้งที่ 3 ทดสอบหลังจากเก็บเป็นเวลา 3 เดือน และครั้งที่ 4 ทดสอบหลังจากเก็บเป็นเวลา 6 เดือน การทดสอบแต่ละครั้งประกอบด้วย การทดสอบค่าการบ่มตัวโดยฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรโฟโตเมทรี และการทดสอบค่ากำลังแรงยึดดึง โดยการเตรียมผิวเนื้อฟันของฟันกรามใหญ่ซี่ที่สามของมนุษย์จำนวน 140 ซี่ และยึดกับชิ้นคอมพอสิตออนเลย์ด้วยเรซินซีเมนต์ จากนั้นเตรียมชิ้นทดสอบรูปร่างมินิดัมเบลล์ ขนาดพื้นที่ยึดติด 2x3 ตารางมิลลิเมตร และทดสอบหาค่ากำลังแรงยึดดึงด้วยเครื่องทดสอบวัสดุเอนกประสงค์ จากนั้นนำชิ้นทดสอบที่ผ่านการดึงมาแยกประเภทความล้มเหลวของการแตกหักด้วยกล้องสเตอริโอกำลังขยาย 40 เท่า วิเคราะห์ข้อมูลค่าการบ่มตัวและค่ากำลังแรงยึดดึงด้วยสถิติ ครัสคาวาริส เฟรดแมน และแมนวิทนี-ยูเทส (α=0.05) ทดสอบพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของค่าการบ่มตัว ระหว่างชนิดเรซินซีเมนต์ และระหว่างอุณหภูมิการเก็บรักษา ในทุกช่วงระยะเวลาการเก็บรักษา และพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของค่ากำลังแรงยึดดึง ระหว่างชนิดของเรซินซีเมนต์ และระหว่างอุณหภูมิการเก็บรักษาของเรซินซีเมนต์ทุกชนิด ยกเว้นบิสเซม และพบว่าระยะเวลาการเก็บรักษามีผลต่อค่ากำลังแรงยึดดึงในทุกอุณหภูมิการเก็บรักษา ยกเว้นรีไลเอกซ์และแม็กซ์เซมอีไลท์ที่เก็บ ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส และประเภทของความล้มเหลวภายหลังการแตกหักของ เรซินซีเมนต์ทุกชนิดทั้งที่เก็บ ณ อุณหภูมิ 4 และ 40 องศาเซลเซียส ในทุกช่วงระยะเวลาการเก็บรักษา พบว่าส่วนใหญ่เกิดการแตกหักภายในชั้นของเรซินซีเมนต์ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงยืนยันได้ว่าการเก็บรักษาเรซินซีเมนต์ไว้ ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 6 เดือน มีผลต่อค่าการบ่มตัวและค่ากำลังแรงยึดดึงของเรซินซีเมนต์ทั้งสี่ชนิด | en_US |
dc.description.abstractalternative | The aims of this study were to evaluate the effect of temperature on degree of conversion (DC) and tensile bond strength (TBS) of four self-adhesive resin cements (Clearfil SA luting, RelyX U100, Maxcem Elite and Biscem). The test was divided into 4 durations. 1st time : after receiving resin cements from company’s dealer within 1 week. 2nd time : after storing resin cements at 4 oC and 40 oC for 1 month. 3rd time : after storing resin cements at 4 oC and 40 oC for 3 months. 4th time : after storing resin cements at 4 oC and 40 oC for 6 months. Each test consists of analyzing the DC of resin cement by Fourier Transform Infrared spectrophotometry and TBSs test by using dentin surfaces of 140 extracted human third molars which were prepared and bonded with composite onlay by each of resin cements. The bonded specimens were prepared into mini-dumbbell shaped with 2x3 mm2 bonded area and then TBSs were evaluated by using universal testing machine. Failure modes of tested specimens were determined by using a stereomicroscope at 40x magnification. The data were statistically analyzed by Kraskal-Wallis Friedman and Mann-whitney U test (α=0.05). The DCs were significantly different among types of resin cement and among storage temperatures at all time durations. The TBSs were significantly different among types of resin cement and among storage temperatures of all cement types, except Biscem. Storage duration affected significantly on TBSs at all storage temperatures, except 4 oC RelyX U100 and 4 oC Maxcem Elite. The predominant failure mode was cohesive in resin cement layer. Our findings suggested that the storage temperature at 40 oC for 6 months had an effect on DCs and TBSs of four resin cement types. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2222 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เรซินทางทันตกรรม | en_US |
dc.subject | ซีเมนต์ทางทันตกรรม | en_US |
dc.subject | ทันตวัสดุ | en_US |
dc.subject | การยึดติดทางทันตกรรม | en_US |
dc.subject | Dental resins | en_US |
dc.subject | Dental cements | en_US |
dc.subject | Dental materials | en_US |
dc.subject | Dental bonding | en_US |
dc.title | ผลของอุณหภูมิที่มีต่อค่าการบ่มตัวและค่ากำลังแรงยึดแบบดึงของเรซินซีเมนต์ | en_US |
dc.title.alternative | Effect of temperature on the degree of conversion and tensile bond strength of resin cement | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ทันตกรรมประดิษฐ์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Niyom.T@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.2222 | - |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanjana Sansaneeyawa.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.