Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิรงรอง รามสูต รณะนันทน์-
dc.contributor.authorนิธิมา คณานิธินันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-17T06:12:33Z-
dc.date.available2020-02-17T06:12:33Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741703465-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64174-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความตระหนักรู้ต่อสิทธิและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลในการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความตระหนักรู้ต่อการมีอยู่ของสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลของสังคมการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตของไทยว่ามีหรือไม่ ในระดับใด มีการให้ความสำคัญกับประเด็นใดบ้างในเรื่องสิทธิและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล และปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อระดับความตระหนักรู้ต่อเรื่องสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลอีกทั้งพิจารณาลักษณะพฤติกรรมตอบกลับเมื่อถูกละเมิด โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการออกแบบสอบถาม การทดลอง การสนทนา กลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า สังคมการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตของไทยมีความตระหนักรู้ต่อการมีอยู่ของสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลคิดเป็นจำนวน 92% ไม่ตระหนักคิดเป็นจำนวน 8% มีความตระหนักรู้ต่อการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลคิดเป็นจำนวน 87.7% และไม่ตระหนักคิดเป็นจำนวน 12.3% ในเรื่องของระดับความตระหนักรู้พบว่ามีความตระหนักรู้ต่อสิทธิและการละเมิดในระดับปานกลางมากที่สุด และจากการหาค่าไคสแควร์และค่าสหสัมพันธ์พบว่าปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อความตระหนักรู้ต่อการมีอยู่ของสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลในอินเทอร์เน็ตได้แก่ ปัจจัยเรื่อง อายุ และการศึกษาซึ่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางแปรผันตามกันและลักษณะความคิดแบบอุปภัมภ์ (patron) ในทิศทางแปรผกผัน ในขณะที่ปัจจัยในเรื่องความไว้วางใจในรัฐบาลส่งผลต่อความตระหนักรู้ต่อการละเมิดในทิศทางแปรผกผันกัน ซึ่่งจากการวิจัยพบว่าสังคมการสื่่อสารทางอินเทอร์เน็ตให้ความสำคัญกับประเด็นสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลในแง่ของการเป็นเครื่องมือและการนำไปใช้ (instrumental) มากที่สุด สุดท้ายในเรื่องของพฤติกรรมตอบกลับสังคมการสื่่อสารทางอินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่เลือกใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่่องมือในการจัดการปัญหา โดยพฤติกรรมตอบกลับมีความสอดคล้องกับความตระหนักรู้ต่อสิทธิและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลในอินเทอร์เน็ตen_US
dc.description.abstractalternativeThis research has the following objectives 1) to measure the existence, and levels of awareness about information privacy right and about violation of this right, among the users of the Internet in Thailand; 2) to examine the types of issues that are given importance by this population regarding information privacy right and the violation of this right; 3) to study factors that may influence upon the awareness on information privacy right and the violation of this right; 4) to find out the types of response taken by the sampled users in case of being violated. Data collection for the research was done through a self-administered survey, on-line experiments, focus groups, and in-depth interviews. The research has these findings: 1) 92 per cent of the sampled Internet users have awareness about the existence of information privacy right, compared to eight per cent who do not while 87.7 per cent are aware about the violation of this right as opposed to 12.3 per cent who do not; 2) as a result of a chi-square calculation and correlations, the variables that are found to positively influence the awareness on information privacy right are age and education, while attitudes about patronage system and trust in government are found to negatively influence this awareness and the violation of this right; 3) most of the sampled population give importance to issues about information privacy by considering them mainly as instrumental to other objectives; 4) most of the sampled population take a technology-fix approach as the main approach in responding to hypothetical cases of violation of information privacy right. This approach also corresponds with the awareness about information privacy right and the violation of this right.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสิทธิส่วนบุคคลen_US
dc.subjectการบริหารข้อมูลส่วนบุคคลen_US
dc.subjectการป้องกันข้อมูลen_US
dc.subjectPrivacy, Right of-
dc.subjectPersonal information management-
dc.subjectData protection-
dc.titleความตระหนักรู้ด้านสิทธิข้อมูลส่วนบุคคล ในการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeAwareness of information privacy right on the Internet in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวารสารสนเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPirongrong.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nithima_ka_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ789.16 kBAdobe PDFView/Open
Nithima_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1857.31 kBAdobe PDFView/Open
Nithima_ka_ch2_p.pdfบทที่ 21.65 MBAdobe PDFView/Open
Nithima_ka_ch3_p.pdfบทที่ 3997.67 kBAdobe PDFView/Open
Nithima_ka_ch4_p.pdfบทที่ 41.24 MBAdobe PDFView/Open
Nithima_ka_ch5_p.pdfบทที่ 5904.8 kBAdobe PDFView/Open
Nithima_ka_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.