Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorงามพิศ สัตย์สงวน-
dc.contributor.advisorสัญญา สัญญาวิวัฒน์-
dc.contributor.authorรติรส อัจฉริยะเสถียร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-23T15:45:02Z-
dc.date.available2020-03-23T15:45:02Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312853-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64409-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพื้นฐานทางสังคมของผู้ที่ลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์และปัจจัยที่มีผลต่อ การลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ตลอดจนศึกษาแนวทางป้องกันปัญหาการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการทางมานุษยวิทยาและใช้เทคนิควิจัยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 10 ราย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางมานุษยวิทยา ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1 .ผลตอบแทนทางด้านวัตถุ ไม่มีผลต่อการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ 2. ผลตอบแทนทางด้านจิตใจ มีผลต่อการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ 3. เพื่อนที่ลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ไม่มีผลต่อการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ 4. การมีความคิดที่ว่าการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นไม่เป็นความผิด มีผลต่อการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ สำหรับแนวโน้มของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในอนาคต พบว่า การลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์จะมีความซับซ้อนและก่อให้เกิดความเสียหายมากยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThis research focuses hacking in Thailand with a view to observing the hackers' social basic and the factors influential in hacking, and seeking preventive measures against hacking in Thailand. Anthropological approach and researching technique such as in-depth interview and participant observation are used in data collection from ten subjects as well as in data analysis. The result of hypothesis test are as follows: 1. Material motivation exerts no influence on hacking. 2. Psychological motivation exert influence on hacking. 3. Hacking committed by peers exerts no influence on hacking. 4. Being of the opinion that hacking is strictly legitimate exerts influence on hacking. As for the tendency of hacking, it is found that hacking tends to become all the more extensive and complicated.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์-
dc.subjectการแฮกข้อมูล-
dc.subjectComputer crimes-
dc.subjectHacking-
dc.titleการลักลอบเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย-
dc.title.alternativeHacking in Thailand-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสังคมวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratiros_au_front_p.pdfหน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ803.29 kBAdobe PDFView/Open
Ratiros_au_ch1_p.pdfบทที่ 1711.58 kBAdobe PDFView/Open
Ratiros_au_ch2_p.pdfบทที่ 22.41 MBAdobe PDFView/Open
Ratiros_au_ch3_p.pdfบทที่ 3738.12 kBAdobe PDFView/Open
Ratiros_au_ch4_p.pdfบทที่ 41.26 MBAdobe PDFView/Open
Ratiros_au_ch5_p.pdfบทที่ 5795.17 kBAdobe PDFView/Open
Ratiros_au_ch6_p.pdfบทที่ 6740.73 kBAdobe PDFView/Open
Ratiros_au_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก808.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.