Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุ่นตา นพคุณ-
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิรัชชัย-
dc.contributor.authorภัทรพล มหาขันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-24T15:47:39Z-
dc.date.available2020-03-24T15:47:39Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741721917-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64426-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของศูนย์การเรียนชุมชนทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนด้วยการวิจัยเชิงบรรยาย จากข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ นำมาวิเคราะห์และเปรียบเทียบขนาดและทิศทางของอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อประสิทธิผลของคณะกรรมการศูนย์การเรียนชุมซนในสภาพปัจจุบันและในสภาพอนาคตของศูนย์การเรียนชุมชนดีเด่นและศูนย์การเรียนชุมชนทั่วไปทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยด้วยแบบสอบถาม การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์และการสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าสถิติพื้นฐานด้วยโปรแกรม SPSS 9.05 ตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุด้วยโปรแกรมลิสเรล 8.30 และวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลเชิงคุณภาพจากการดำเนินการวิจัยด้วยการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์และการสังเกต ผลการวิจัยศึกษาในครั้งนี้พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของศูนย์การเรียนชุมชนทั่งในสภาพปัจจุบันและสภาพอนาคตที่ได้จากการวิเคราะห์การทดถอยพหุคูณที่สำคัญ ได้แก่ การรับรู้ในบทบาทด้านการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน พฤติกรรมภาวะผู้นำแบบมุ่งงานและความผูกพันต่อองค์การ 2. การวิเคราะห์ด้วยโมเดลสมการโครงลร้างศูนย์การเรียนชุมชนดีเด่นและศูนย์การเรียนชุมชนทั่วไป พบว่าโมเดลส่วนใหญ่มีความลอดคล้องกลมกลืน โดยมีปัจจัยที่มีอิทธิผลทางตรง ได้แก่ ความผูกพันต่อองค์กรและพฤติกรรมภาวะผู้นำ ซึ่งมีปัจจัยที่มีอิทธิผลทางอ้อมที่ส่งผ่านปัจจัยที่มีอิทธิผลทางตรง ได้แก่ แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การรับรู้ในบทบาทการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน ทั้งนี้ปัจจัยที่เป็นข้อแตกต่างระหว่างโมเดลสมการโครงสร้างในสภาพปัจจุบันและอนาคต ได้แก่ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและระดับการศึกษาของคณะกรรมการศูนย์การเรียนชุมชน 3. จาการศึกษาด้วยการวิจัยภาคสนาม พบว่า ศูนย์การเรียนชุมชนดีเด่นมีความพร้อมในด้านอาคารสถานที่และบุคลากรคณะกรรมการศูนย์การเรียนชุมชนมีอุดมการณ์และอุทิศตนเพื่อการศึกษา หากแต่ลภาพการดำเนินงานยังเป็นไปด้วยความยากลำบาก เนื่องจากขาดแคลนงบประมาณ 4. อนาคตของศูนย์การเรียนชุมชนควรมีการถ่ายโอนอำนาจการดำเนินงานการศึกษานอกระบบโรงเรียนเป็นขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาล อบต. เพื่อให้มีงบประมาณของเป็นตนเอง สามารถจัดการกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนให้ตอบสนองความต้องการของประชาชน มีความหลากหลาย สร้างให้เกิดการมีส่วนร่วม มีทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจนตามสภาพแวดล้อมของชุมชน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the non formal education community learning center effectiveness via the descriptive research by using the qualitative and quantitative data. The data were analyzed and com pared เท order to obtain the sizes and directions of direct and indirect influences of factors having effects on the efficiency of the community learning centre’s committee of the outstanding and the community learning centers throughout the country. (in the present condition and in the future condition) Apart from that, this study included the field research from the outstanding learning centres of each region. The data were collected by mans of questionnaires, focus groups, interviews and observations. The data were analyzed using basic statistics through spss 9.05 program, test to validate the fit of the coherence of the structural equation model by LISREL 8.30 program and the field research data were analyzed using content analysis The research results were as following; 1. The regression analysis results showed that the important factors affecting the community learning centres at present and in the future were the perception or the roles in the non formal education administration, the leadership behavior based on task-oriented and the commitment within the organization. 2. The analysis of the structural equation model of the outstanding and the community learning centres showed that most of the models fit to the empirical data. The direct influence were the commitment with the organization and the leadership behavior. The factors having indirect effects through the factors having direct effects were the motivation in working, the perception of the roles in the non formal education administration. The difference between the structural equation models at present and in the future were the experiences in working and the level of the community learning centre’s committee’s education. 3. The analysis from the field research showed that the outstanding community learning centres were well equipped with building and personals. The community learning centre’s committee had ideal perspective and devoted themselves for education but the running of the center had difficulties due to lack of budget. 4. In the future the community learning centre should transfer their business to the local administration organizations such as Tumbol local government, municipality so that they would have their own budget and that they were capable to dial with the non formal education activities to in responding to the need of the people, had variety of learning methods created up the participation and set the clear direction of development according to the community surrounding.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.734-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศูนย์การเรียนen_US
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.subjectการสนทนากลุ่มen_US
dc.subjectการศึกษาชุมชนen_US
dc.subjectNon-formal educationen_US
dc.subjectFocused group interviewingen_US
dc.subjectCommunity educationen_US
dc.titleการศึกษาประสิทธิผลของศูนย์การเรียนชุมชนทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน : อนาคตภาพจากการประยุกต์โมเดลสมการโครงสร้างและการสนทนากลุ่มen_US
dc.title.alternativeA study of the effectiveness of non-formal education community learning centres : a scenario from applying of structural equation model and focused group interviewen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOonta.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNonglak.W@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.734-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pattarapon_ma_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ912.82 kBAdobe PDFView/Open
Pattarapon_ma_ch1_p.pdfบทที่ 1860.17 kBAdobe PDFView/Open
Pattarapon_ma_ch2_p.pdfบทที่ 25.65 MBAdobe PDFView/Open
Pattarapon_ma_ch3_p.pdfบทที่ 31.13 MBAdobe PDFView/Open
Pattarapon_ma_ch4_p.pdfบทที่ 48.2 MBAdobe PDFView/Open
Pattarapon_ma_ch5_p.pdfบทที่ 52.34 MBAdobe PDFView/Open
Pattarapon_ma_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.