Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6455
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนกพร จิตปัญญา-
dc.contributor.authorสุนันทา บุญรักษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-04-02T03:40:48Z-
dc.date.available2008-04-02T03:40:48Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741433352-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6455-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโพรเกรสสิพร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้านต่อระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยผู้ใหญ่ โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อายุ 20-59 ปีที่มารับการตรวจรักษา ณ คลินิกโรคความดันโลหิตสูง แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลห้วยพลู จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ตามคุณสมบัติที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มควบคุม 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโพรเกรสสิพร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกการฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่บ้าน เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการวิจัย คือ โปรแกรมการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโพรเกรสสิพร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ t- test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญที่ระดับ .05 ผลการทดลองพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิตตัวล่างและระดับความดันโลหิตตัวบนของกลุ่มทดลองหลังการทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิตตัวล่างและระดับความดันโลหิตตัวบน ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโพรเกรสสิพร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน ต่ำกว่ากับกลุ่มควบคุมหลังได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this Quasi experimental research was to study the effect of progressive muscle relaxation program with home visit on blood pressure level of adult hypertensive patients. The samples were 40 adult hypertensive patients age 20-59 years old at hypertensive clinic of the out patient department in Huayploo Hospital. The samples were assigned in to the experimental and control group by using a simple random method. The experimental group received the progressive muscle relaxation program with home visit. While the control group received conventional nursing care. The program was validated by a panel of experts for the content validity. The data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and ANCOVA. The major findings were as following : 1. The diastolic level and systolic level of blood pressure of the experimental group after receiving the program was significantly lower than before receiving the program at the level of .05. 2. The diastolic level and systoliclevel of blood pressure of the experimental group after receiving the program was significantly lower than that of the control group at the level of .05en
dc.format.extent2822088 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความดันเลือดสูง -- การพยาบาลen
dc.subjectการเยี่ยมบ้านen
dc.titleผลของโปรแกรมการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโพรเกรสสิพ ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้านต่อระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคความดันโลหิตสูงen
dc.title.alternativeThe effect of progressive muscle relaxation program with home visit on blood pressure level of adult hypertensive patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorhchanokp@pioneer.netserv.chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunundha.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.