Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64733
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธาตรี ใต้ฟ้าพูล-
dc.contributor.authorภวินท์ ศรีเกษมสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-05T07:04:00Z-
dc.date.available2020-04-05T07:04:00Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64733-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสารภายในองค์กร การออกแบบสาร ช่องทางการสื่อสารภายในองค์กร รวมถึงแนวทางในการสื่อสารในภาวะวิกฤตของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีระเบียบวิธีวิจัยคือ การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) ผู้ที่รับผิดชอบในด้านการสื่อสารองค์กร และผู้รับสารของแต่ละองค์กร ประกอบด้วย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ ยังได้สัมภาษณ์นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญเพิ่มเติม รวมทั้งสิ้น 20 ราย ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์การสื่อสารภายในองค์กรในภาวะวิกฤต ประกอบด้วย กลยุทธ์การสื่อสารและกลยุทธ์การโน้มน้าวใจ โดยกลยุทธ์การสื่อสาร ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ย่อย คือ กลยุทธ์ผู้ส่งสาร กลยุทธ์การสร้างสาร กลยุทธ์การใช้สื่อ และกลยุทธ์ผู้รับสาร โดยทั้ง 3 องค์กร มีกลยุทธ์การสื่อสารภายในองค์กรในภาวะวิกฤตที่ไม่แตกต่างกัน รวมถึงการออกแบบสารและช่องทางการสื่อสารภายในองค์กร ในด้านของแนวทางการสื่อสารในภาวะวิกฤต ปตท. มีแนวทางการสื่อสารที่ชัดเจน ผ่านการตั้งศูนย์บริหารจัดการภาวะวิกฤตตามระดับความรุนแรง 3 ระดับ ขณะที่ ทอท. มีการจัดตั้งศูนย์รับมือภาวะวิกฤตเช่นกัน แต่ไม่ได้ระบุถึงแนวทางที่ชัดเจน และธนาคารกรุงไทย มีคู่มือเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ความรุนแรงของภาวะวิกฤต โดยไม่ได้มีการจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการแต่อย่างใด-
dc.description.abstractalternativeThis research has the objective to analyze internal communication strategy, message design, internal communication channel in a crisis and describe communication in a crisis of state enterprises in Thailand. This research is a qualitative research use documentary research and in-depth interview as a methodology. For an in-depth interview with who has responsibility for corporate communication and employee who is a receiver each an organization, consists of PTT, Krungthai, AOT and professor, all of them 20 persons. This research found that the internal communication strategy consists of communication strategy; sender message channel and receiver, and persuasion strategy. Which are 3 organizations have an internal communication strategy, not difference, include message design and internal communication channels in crisis, In a part of the way in crisis communication finding, PTT has a clear way for communication via crisis management center 3 levels by violence level, while AOT has a crisis management center but not specify a way and Krungthai has crisis management guidebook without crisis management center.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.894-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการสื่อสารในการจัดการ-
dc.subjectการสื่อสารในองค์การ-
dc.subjectรัฐวิสาหกิจ -- ไทย-
dc.subjectCommunication in management-
dc.subjectCommunication in organizations-
dc.subjectGovernment business enterprises -- Thailand-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleกลยุทธ์การสื่อสารภายในองค์กรในภาวะวิกฤตของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย-
dc.title.alternativeInternal communication strategy in crisis of state enterprises in Thailand-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorTatri.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.894-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6184864528.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.