Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorApasara Chinwonno-
dc.contributor.authorYong Yang-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2020-04-05T07:41:35Z-
dc.date.available2020-04-05T07:41:35Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64918-
dc.descriptionIndependent Study (M.A.)--Chulalongkorn University, 2019-
dc.description.abstractThis study aimed to 1) explore the online self-regulation used by Chinese EFL students, and 2) investigate the correlation between students’ online self-regulation and their English proficiency. Participants included 101 Chinese undergraduate students enrolled in an English test prep online course at a university in southwestern China. The research instruments consisted of the Online Self-regulated Learning Questionnaire (OSLQ) and National College English Test Band 4 (CET-4). The data were analyzed through descriptive statistics and Pearson correlation coefficient. The results revealed that 1) the participants had a moderate level of using online self-regulatory skills with the highest level for 'Environment Structuring' whilst the lowest level for 'Self-evaluation' and 2) there was a significant positive relationship between online self-regulation and English proficiency with the highest on 'Time Management' and 'Environment Structuring' respectively. EFL students’ online self-regulation and pedagogical implications were presented and discussed.-
dc.description.abstractalternativeการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะ 1) สำรวจการกำกับดูแลตนเองออนไลน์ที่ถูกใช้โดยนักศึกษาชาวจีนระดับปริญญาตรีซึ่งเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างชาติ และ 2) สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลตนเองออนไลน์ของนักศึกษาและความสามารถทางภาษาอังกฤษของพวกเขา กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ประกอบด้วยนักศึกษาชาวจีนระดับปริญญาตรีจำนวน 101 คน ที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรเตรียมสอบภาษาอังกฤษออนไลน์ ณ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้ประกอบด้วยแบบสอบถามการเรียนรู้กำกับตนเองออนไลน์ (the Online Self-regulated Learning Questionnaire (OSLQ) และแบบทดสอบภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยแห่งชาติ ระดับ 4 (National College English Test Band 4 or CET-4) ข้อมูลถูกวิเคราะห์ด้วยการใช้สถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation Coefficient) ผลจากการวิจัยเปิดเผยว่า 1) กลุ่มตัวอย่างใช้ทักษะการกำกับตนเองออนไลน์ในระดับปานกลาง โดยใช้ระดับสูงสุดใช้ในส่วนของการจัดหาสถานที่เหมาะสมในการเรียนรู้ (Environment Structuring) และระดับต่ำที่สุดที่พบคือ การประเมินตนเอง(Self evaluation) และ 2) ผลจากการวิจัยยังได้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยยะสำคัญระหว่างการกำกับดูแลตนเองออนไลน์และความสามารถภาษาอังกฤษ โดยที่พบความสัมพันธ์สูงที่สุดในส่วนของการจัดการเวลา (Time Management) และการจัดหาสถานที่เหมาะสมในการเรียนรู้ (Environmental Structuring) ตามลำดับ ส่วนการกำกับดูแลตนเองออนไลน์ของนักศึกษาที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างชาติและการประยุกต์ใช้แนวคิดในการสอนได้ถูกนำเสนอและอภิปรายไว้ในงานวิจัยนี้เช่นกัน-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.29-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleA study of online self-regulation on English proficiency among Chinese EFL undergraduate students-
dc.title.alternativeการศึกษาการกำกับตนเองทางการเรียนรู้ออนไลน์ต่อความสามารถด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษาจีนระดับปริญญาตรีที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameMaster of Arts-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineEnglish as an International Language-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.email.advisorApasara.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2019.29-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6187563120.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.