Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65101
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นคร กกแก้ว | - |
dc.contributor.author | อภิชัย รักประสงค์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-05T09:18:56Z | - |
dc.date.available | 2020-04-05T09:18:56Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65101 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | - |
dc.description.abstract | โครงการโครงสร้างพื้นฐานที่ใช้สัญญาร่วมลงทุน (Public Private Partnership, PPP) ที่ใกล้สิ้นสุดสัญญา กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการต้องว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาเปรียบเทียบแนวทางการดำเนินการโครงการซึ่งอาจมีได้หลายรูปแบบ โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินและความเสี่ยงใน 3 แนวทาง ได้แก่ (1) รัฐรับผิดชอบในการดำเนินโครงการเอง (2) รัฐต่อสัญญาโดยวิธี PPP Net Cost และ (3) รัฐต่อสัญญาโดยวิธี PPP Gross Cost สำหรับประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบโครงการ แบบจำลองเพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินและความเสี่ยงที่ใช้ในการศึกษา มีขั้นตอนดังนี้ (1) สร้างแบบจำลองทางการเงินของโครงการในแต่ละทางเลือก โดยใช้โครงการทางด่วนศรีรัชเป็นกรณีศึกษา (2) พยากรณ์ปริมาณจราจรและค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ โดยวิธี Double Moving Average, Standard Normal Probability และ Geometric Brownian Motion (3) วิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินที่รัฐและเอกชนคาดว่าจะได้รับ โดยใช้อัตราคิดลดที่เหมาะสมกับระดับความเสี่ยงของกระแสเงินในโครงการ (4) วิเคราะห์ความอ่อนไหว เพื่อระบุตัวแปรสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อผลตอบแทนทางการเงินของโครงการ ผลที่ได้จากการวิเคราะห์พบว่า รัฐควรเลือกใช้สัญญา PPP Gross Cost ในการต่อสัญญา เพราะเป็นแนวทางที่คาดว่ารัฐจะได้รับผลประโยชน์มากที่สุดในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และผลจากการวิเคราะห์ความอ่อนไหวพบว่า ตัวแปรเสี่ยงจราจรที่มีผลกระทบต่อผลตอบแทนทางการเงินมากที่สุด คือ ปริมาณจราจรสาย A-B ส่วนตัวแปรเสี่ยงค่าใช้จ่ายดำเนินการที่มีผลกระทบมากที่สุด คือ งานจัดเก็บค่าผ่านทาง ในการศึกษานี้จึงได้เสนอการจัดการความเสี่ยงโดยการใช้สัญญาสัมปทานระยะสั้นและใช้วิธีเรียลออปชั่นในการประเมินมูลค่าในการต่อสัญญาถัดไป เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงของรัฐและภาคเอกชน | - |
dc.description.abstractalternative | When PPP infrastructure projects is approaching the end of a concession contract. The Thai PPP law requires that a responsible project agency hire an independent consultant to study on how the project will be managed. This study is to purpose a decision-making model based on financial analysis and risks exposure. There are 3 alternatives considering in this study: (1) to assume full responsibility for the project operation, (2) to renew the contract using PPP Net Cost, and (3) to renew the contract using PPP Gross Cost. The proposed decision-making model used in this study involves the following steps. First, a financial model for each alternative was developed, with the Si Rat Expressway being a case study. Then, important variables of the financial model were forecasted using three methods: (1) Double Moving Average, (2) Standard Normal Probability, and (3) Geometric Brownian Motion. Next, financial benefits to be received by the public and the private were analyzed using Monte Carlo simulation, and, to account for the different levels of risk, three risk-adjusted discount rates are employed to calculate the net present value. Finally, sensitivity analysis is performed to identify key risk variable highly influencing the results of the model. The results of the analysis showed that the public agency should adopt the third alternative, renewing the contract using PPP Gross Cost. Based on the results from sensitivity analysis, the traffic volume in section A-B and toll collecting cost of the case study project are two of the highly sensitive variables. This research also suggests using a short-term concession with renewal options for risk management. The value embedded in renewal options are then priced using Real Option Approach. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1222 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Engineering | - |
dc.title | แบบจำลองการตัดสินใจของรัฐเพื่อการต่อสัญญาสัมปทานโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมภายใต้ความไม่แน่นอนโดยวิธีเรียลออปชัน | - |
dc.title.alternative | Modelling of government’s decision for the renewal/re-procurement of PPP transportation infrastructure under uncertainty using real options | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Nakhon.K@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2019.1222 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6070368121.pdf | 6.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.