Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65191
Title: Selective CO oxidation in the presence of hydrogen for fuel cell applications
Other Titles: การเลือกเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจนสำหรับประยุกต์ใช้ในเซลล์เชื้อเพลิง
Authors: Kaewjai Khumvilaisak
Advisors: Somchai Osuwan
Gulari, Erdogan
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: No information provided
No information provided
Subjects: Hydrogen
Fuel cells
ไฮโดรเจน
เซลล์เชื้อเพลิง
Issue Date: 2001
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The catalytic performance of Pd/CeO2, Pd/ZrO2, and Pd/CeO2-ZrO2 catalysts in selective CO oxidation in the presence of large amounts of hydrogen were investigated for fuel cell applications. Co-precipitation and impregnation on supports prepared by sol-gel methods were used to prepare the catalysts. The results from XRD and BET revealed that the sol-gel catalysts had high crystallinity and surface area especially for Pd on mixed oxide supports. The calcination temperature, ratio of Pd to Ce and Zr loading, and catalyst preparation method had strong effect on catalyst activity. The catalysts prepared by co-precipitation method had higher activity than catalysts prepared by impregnation method. The l%Pd/CeO2 co-precipitation catalyst calcined at 300℃ for two hours exhibited the highest activity. Pretreatment of the catalyst by reducing with 10% H2 at 300℃ for three hours maximized the activity.
Other Abstract: การศึกษาผลของการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะแพลเลเดียมบนตัวพยุงซีเรีย แพลเลเดียมบนตัวพยุงเซอร์โคเนีย และแพลเลเดียมบนตัวพยุงผสมระหว่างซีเรียและเซอร์โคเนียต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาและการเลือกเกิด ปฏิกิริยาออกซิเดชันของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจนสำหรับประยุกต์ใช้ในเซลล์เชื้อเพลิง ตัวเร่งปฏิกิริยาในงานวิจัยนี้เตรียมขึ้นโดยใช้วิธีการเตรียมแบบการตกตะกอนร่วม และแบบอิมเพรกเนชันบนโซลเจล ผลการศึกษาด้วยการวัดเอ็กซเรย์ดิฟแฟรกชันและการวัดพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยาแสดงให้เห็นว่า การเตรียมแบบอิมเพรกเนชันบนโซลเจลให้ความเป็นผลึกและพื้นที่ผิวมากกว่าโดยเฉพาะตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะแพลเลเดียมบนตัวพยุงผสมระหว่างซีเรียและเซอร์โคเนีย การวิจัยนี้พบว่าอุณหภูมิที่ ใช้ในการแคลไซน์ สัดส่วนของโลหะแพลเลเดียมต่อตัวพยุงซีเรียและเซอร์โคเนีย และวิธีการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยามีผลต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยา ที่ร้อยละหนึ่งโดยน้ำหนักของโลหะแพลเลเดียมบนตัวพยุงซีเรียที่เตรียมโดยการตกตะกอนร่วมแล้วแคลไซน์ที่ 300 องศาเซลเซียสเป็นเวลาสองชั่วโมงให้ประสิทธิภาพที่สูงที่สุด และจากการทำรีดักชันด้วยไฮโดรเจนของร้อยละ 10 ที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียสสามารถเพิ่มความว่องไวได้สูงขึ้น โดยสรุปพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยการตกตะกอนร่วมให้ประสิทธิภาพที่สูงกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยวิธีอิมเพรกเนชัน บนโซลเจล
Description: Thesis (M.S.) -- Chulalongkorn University, 2001
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petroleum Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65191
ISBN: 9741306784
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kaewjai_kh_front.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ216.41 kBAdobe PDFView/Open
Kaewjai_kh_ch1.pdfบทที่ 1194.97 kBAdobe PDFView/Open
Kaewjai_kh_ch2.pdfบทที่ 2247.49 kBAdobe PDFView/Open
Kaewjai_kh_ch3.pdfบทที่ 3470.72 kBAdobe PDFView/Open
Kaewjai_kh_ch4.pdfบทที่ 4992.38 kBAdobe PDFView/Open
Kaewjai_kh_ch5.pdfบทที่ 533.51 kBAdobe PDFView/Open
Kaewjai_kh_back.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก593.83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.