Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65205
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถพร ภัทรสุมันต์-
dc.contributor.advisorสมยศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorประสิทธิ์ สิริทิพย์รัศมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-07T06:15:31Z-
dc.date.available2020-04-07T06:15:31Z-
dc.date.issued2004-
dc.identifier.isbn9740303498-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65205-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2004en_US
dc.description.abstractอุปสรรคอย่างหนึ่งของเทคโนโลยีการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีในทางปฏิบัติ ก็คือความสามารถในการจับภาพให้ได้คุณภาพที่ดีด้วยความเร็วสูง ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาเทคนิคการรวมเฟรมสำหรับระบบโทรทัศน์เพื่อแก้ไขอุปสรรคนี้ แนวความคิดขงเทคนิคการรวมเฟรมทำได้โดยการเฉลี่ยข้อมูลภาพหลาย ๆ เฟรมตามที่กำหนดไว้ ภาพบนฉากเรืองรังสีถูกจับโดยกล้องวีดิทัศน์และแปลงเป็นข้อมูลเชิงตัวเลขโดยใช้อุปกรณ์จับภาพ ซึ่งสามารถนำภาพไปเก็บลงในหน่วยความจำชั่วคราวของไมโครคอมพิวเตอร์โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาสามารถจะรับแล้วนำข้อมูลกลับมารวมกันพร้อมทั้งเฉลี่ยข้อมูลภาพได้ในขณะที่ทำการถ่ายภาพด้วยรังสี สำหรับการทดสอบด้วยชิ้นงานทดสอบต่าง ๆ พบว่าคุณภาพของภาพโทโมกราฟีดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเพิ่มจำนวนเฟรมที่นำมาเฉลี่ย ค่าพิกเซลนอยส์ที่ได้จากค่าข้อมูลของภาพโทโมกราฟีจะลดลงอย่างรวดเร็วร้อยละ 80 ถึง 90 เมื่อใช้จำนวนชุดข้อมูลถึง 100 เฟรม อย่างไรก็ตาม เมื่อจำนวนเฟรมที่นำมาเฉลี่ยมากกว่า 100 เฟรม ค่าพิกเซลนอยส์มีความแตกต่างกันน้อยมากและพบว่ามีค่ารีโซลูชัน 125 ไมครอนen_US
dc.description.abstractalternativeOne of the shortcomings in practical computed tomography technology is in the ability to capture real time high quality image. A frame integral data acquisition technique using television system was developed to overcome this shortcoming. The concept of frame integral was accomplished by averaging temporarily stored number of image frames as preset by an operator. The image on the fluorescent screen is captured via a video camera and digitized by a frame grabber which could then be directly stored in the microcomputer random-accessed-memory (RAM). The developed software could acquire, retrieve, sum, and average the image data in real time during radiography. For the test specimens, it was found that the CT image quality significantly improved with increasing number of frames averaged. The pixel noise defined by CT number decreases rapidly by 80-90% when an image was averaged up to 100 frames; however, very little change is observed beyond 100 frames averaging and the resolution was determined to be 125 um.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโทโมกราฟีย์en_US
dc.subjectTomographyen_US
dc.titleการพัฒนาเทคนิคการเก็บข้อมูลแบบรวมเฟรมสำหรับการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีโดยใช้ระบบโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of a frame integral data acquisition technique for the computed tomography using a television systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAttaporn.P@chula.ac.th-
dc.email.advisorSomyot.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prasit_si_front.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ356.87 kBAdobe PDFView/Open
Prasit_si_ch1.pdfบทที่ 1124.66 kBAdobe PDFView/Open
Prasit_si_ch2.pdfบทที่ 21.56 MBAdobe PDFView/Open
Prasit_si_ch3.pdfบทที่ 32.19 MBAdobe PDFView/Open
Prasit_si_ch4.pdfบทที่ 43.75 MBAdobe PDFView/Open
Prasit_si_ch5.pdfบทที่ 5112.62 kBAdobe PDFView/Open
Prasit_si_back.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก863.71 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.