Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65334
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุสรณ์ ลิ่มมณี-
dc.contributor.advisorสุริชัย หวันแก้ว-
dc.contributor.authorทศพล แก้วประพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-15T17:45:09Z-
dc.date.available2020-04-15T17:45:09Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741702523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65334-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อค้นหาเงื่อนไขที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดของขบวนการ "สงขลาประชาคม” ว่าเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างรัฐกับประชาชนในลักษณะใด ผลการศึกษาพบว่าขบวนการ "สงขลาประชาคม" ก่อกำเนิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากนโยบายส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดสงขลา ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับต่าง ๆ ที่ผ่านมาในขณะที่โครงสร้างอำนาจแบบรวมศูนย์อำนาจในการจัดการของรัฐ ซึ่งรัฐผูกขาดการทำหน้าที่เป็นผู้กระทำแต่เพียงผู้เดียวนั้น เป็นเงื่อนไขในการก่อเกิดของขบวนการสงขลาประชาคมเพียงบางส่วนเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากการเกิดขึ้นของขบวนการดังกล่าวเป็นความพยายามในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง โดยไม่ให้ความสำคัญกับอำนาจและการจัดการของรัฐมากนัก นอกจากนี้จากการศึกษาพบว่า ขบวนการสงขลาประชาคม มีการใช้แนวคิดประชาสังคมในการดำเนินงาน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับตนเองมากขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims at finding why and under what circumstances the Songkhla Prachacom Movement is formed. The formation of the movement is discovered to be triggered by not only the deterioration of natural resources and environment in Songkhla Province as a consequence of the industrialization policy and the economic and social development plans but also the centralization of state policy-making and implementation. However the emergence of the Songkhla Prachacom Movement results directly from an attempt of some civil groups to solve the existing problems themselves. The movement also applies the concept of civil society to its operation in order to strengthen itself.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectประชาสังคม-
dc.subjectการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม-
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชน-
dc.subjectCivil society-
dc.subjectEnvironmental protection-
dc.subjectCitizen participation-
dc.titleขบวนการประชาสังคมในประเทศไทย : ศึกษากรณีการก่อตัวของสงขลาประชาคมen_US
dc.title.alternativeCivil society movement in Thailand : a case study of the formation of "Songkhla Prachacom"en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thosapol_ke_front_p.pdfหน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ854.52 kBAdobe PDFView/Open
Thosapol_ke_ch1_p.pdfบทที่ 11.06 MBAdobe PDFView/Open
Thosapol_ke_ch2_p.pdfบทที่ 21.7 MBAdobe PDFView/Open
Thosapol_ke_ch3_p.pdfบทที่ 32.08 MBAdobe PDFView/Open
Thosapol_ke_ch4_p.pdfบทที่ 43.07 MBAdobe PDFView/Open
Thosapol_ke_ch5_p.pdfบทที่ 51.05 MBAdobe PDFView/Open
Thosapol_ke_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.