Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์-
dc.contributor.authorอรรณพ วรรณวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-16T17:45:10Z-
dc.date.available2020-04-16T17:45:10Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741729308-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65345-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการฟื้นตัวหลังการออกกำลังกายระหว่างการนวดด้วยน้ำมันธรรมดา การนวดด้วยน้ำมันหอม และการดมน้ำมันหอม กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครที่เป็นนักกีฬารักบี้ฟุตบอลและฟุตบอลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 30 คน ทำการลุ่มแบบกำหนด ลงในการทดลองสามสภาวะคือการนวดด้วยน้ำมันธรรมดา การนวดด้วยน้ำมันหอม และการดมน้ำมันหอม โดยแต่ละสภาวะทำการทดลอง 1 ครั้งห่างกัน 1 สัปดาห์ การทดลองเริ่มต้นด้วยการจับชีพจรขณะพัก และวัดความดันโลหิตขณะพัก แล้วให้ผู้เข้ารับการทดลองเดินหรือวิ่งบนลู่กล ตามวิธีของบรูซ โดยกำหนดให้ออกกำลังกายไปจนถึงชีพจรเป้าหมายที่ 85% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ตามสูตรของคาร์โวเนน หลังจากนั้นให้หยุดพัก ดื่มน้ำเปล่า 250 มิลลิลิตร แล้วเช็ดตัวให้แห้ง แล้วทำการทดลอง นวดด้วยน้ำมันธรรมดา นวดด้วยน้ำมันหอม และดมน้ำมันหอม ทำการบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทุกนาที เป็นเวลา 30 นาที ทำการวัดความดันโลหิตในนาทีที่ 11 แล้วทำการบันทึกผลนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ตามวิธีของตูกี้-เอ จากการวิจัยพบว่าการฟื้นตัวด้วยวิธีการนวดด้วยน้ำมันธรรมดา การนวดด้วยน้ำมันหอมและการดมน้ำมันหอมมีผลทำให้อัตราการเต้นของหัวใจหลังการออกกำลังกายเป็นเวลา 30 นาที ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05อย่างไรก็ตามในนาทีที่ 10 และ 11 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบเป็นรายคู่ในนาทีที่ 10 และ 11 พบว่าการนวดด้วยน้ำมัน หอมทำให้อัตราการเต้นของหัวใจลดลง (82.76 และ 82.33 ครั้งต่อนาที) มากกว่าการดมด้วยน้ำมันหอม (87.73 และ 87.33 ครั้งต่อนาที) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the effects among using massage with oil, massage with aroma and sniff aroma on recovery heart rate after exercise. Thirty males rugbyfootball and football players of Chulalongkorn University were recruited for this experiment. Subjects were randomly assigned into each treatment, massage with oil, massage with aroma, or sniff aroma. Each condition was tested with a interval duration of one week. The experiment was started by measuring heart rate, blood pressure during resting period. The subjects were administered running or jogging on treadmill by using Bruce Treadmill Protocol until reaching of the 85% maximum heart rate by Karvonen's Formula. After exercising, the subjects rested, had their bodies dried, and refreshed by 250 ml. of drinking water. Heart rate was recorded every minute for 30 minutes. Blood pressure was measured at the eleventh minute. The data were statistically analyzed in term of means, standard deviations, one way analysis of variance, and Tukey-A were also used as a method of testing the significantly different. It was found that the effects among using massage with oil, massage with aroma and sniff aroma on recovery heart rate for 30 minutes were not significantly different at the .05 level. However, the recovery heart rate at the 10th and 11th minute were significantly different at the .05 level. A comparison testing was found that using massage with aroma affected recovery heart rate with decreasing (82.76, 82.33 bpm) at the 10th and 11th minute more than using sniff aroma (87.73, 87.33 bpm) which were significantly different at the .05 level.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.695-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักกีฬา -- การฟื้นฟูสมรรถภาพen_US
dc.subjectการบำบัดด้วยการนวดen_US
dc.subjectการบำบัดด้วยกลิ่นen_US
dc.subjectAthletes -- Rehabilitationen_US
dc.subjectMassage therapyen_US
dc.subjectAromatherapyen_US
dc.titleการเปรียบเทียบการฟื้นตัวหลังการออกกำลังกายระหว่างการนวดด้วยน้ำมันธรรมดา การนวดด้วยน้ำมันหอม และการดมน้ำมันหอมen_US
dc.title.alternativeA comparison of recovery after exercise among massage with oil, massage with aroma and sniff aromaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThanomwong.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.695-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aunnop_wu_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ793.02 kBAdobe PDFView/Open
Aunnop_wu_ch1_p.pdfบทที่ 1972.09 kBAdobe PDFView/Open
Aunnop_wu_ch2_p.pdfบทที่ 21.66 MBAdobe PDFView/Open
Aunnop_wu_ch3_p.pdfบทที่ 3768.23 kBAdobe PDFView/Open
Aunnop_wu_ch4_p.pdfบทที่ 4795.39 kBAdobe PDFView/Open
Aunnop_wu_ch5_p.pdfบทที่ 5730.46 kBAdobe PDFView/Open
Aunnop_wu_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.