Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไสว ด่านชัยวิจิตร-
dc.contributor.advisorเรืองเดช ธงศรี-
dc.contributor.authorอรมณี คูวัฒนาชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-16T18:25:32Z-
dc.date.available2020-04-16T18:25:32Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741725256-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65347-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาและเปรียบเทียบการแทรกซึมและการเผาประสานแบบเฟสของเหลวในชิ้นงานที่ขึ้นรูปจากผงเหล็กกล้าไร้สนิม AISI 409L ด้วยกระบวนการทางโลหะผง โดยเริ่มจากการหาสภาวะที่เหมาะสมในจการเผาประสานชิ้นงาน แล้วใช้สภาวะดังกล่าวศึกษาการแทรกซึมด้วยทองแดงและการเผาประสานแบบเฟสของเหลวด้วยทองแดงโดยใช้ทองแดงปริมาณ 2, 4, 6 และ 8% ของน้ำหนักชิ้นงานเหล็กกล้าไร้สนิม จากนั้นทดสอบสมบัติทางกายภาพ สมบัติทางกล และความต้านทานการกัดกร่อนของชิ้นงานที่ได้ จากการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการเผาประสานชิ้นงานที่ขึ้นรูปจากผงเหล็กกล้าไร้สนิม AISI 409L ภายใต้บรรยากาศไฮโดรเจนคือที่อุณหภูมิ 1350 องศาเซลเซียสโดยใช้เวลา 45 นาที จากการแทรกซึมและการเผาประสานแบบเฟสของเหลวพบว่าเมื่อปริมาณทองแดงเพิ่มขึ้น ชิ้นงานมีความแข็งแรง ณ จุดคราก ความต้านทานแรงดึง และความแข็งดีขึ้น และสำหรับชิ้นงานที่ผ่านการแทรกซึมจะมีความหนาแน่นและความสามารถในการต้านทานการกัดกร่อนมากขึ้น แต่ชิ้นงานที่ผ่านการเผาประสานแบบเฟสของเหลวจะมีความหนาแน่นและความสามารถในการต้านทานการกัดกร่อนลดลงเมื่อปริมาณทองแดงเพิ่มสูงขึ้น จากการทดลองสรุปได้ว่าการแทรกซึมเป็นวิธีที่มีประสิทธิผลกว่าการเผาประสานแบบเฟสของเหลวในการปรับปรุงสมบัติต่าง ๆ ของชิ้นงานในงานวิจัยนี้-
dc.description.abstractalternativeIn this research, infiltration and liquid phase sintering processes for densification of 409L stainless steel powders were performed and compared. Optimum condition for sintering the P/M parts made from 409L stainless steel powders was determined. This condition was employed for infiltration and liquid phase sintering using 2, 4, 6 and 8w/o copper as an infiltrate and liquid phase forming powders respectively. Physical and mechanical properties and corrosion resistance of the sintered parts were tested. Experimental results showed that the optimum condition for sintering of P/M parts from 409L stainless steel powders was 1350℃ for 45 minutes under pure hydrogen atmosphere. The yield strength, tensile strength and hardness were uncreased with increasing copper content for both infiltrated and liquid phase sintered parts. With increasing copper content, the density and corrosion resistance increased for the infiltrated parts but decreased for the liquid phase sintered parts. As a result, infiltration process was more promising than liquid phase sintering for this study.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเหล็กกล้าไร้สนิมen_US
dc.subjectการเผา (โลหวิทยา)en_US
dc.subjectStainless steelen_US
dc.subjectRoasting (Metallurgy)en_US
dc.titleการแทรกซึมและการเผาประสานแบบเฟสของเหลวของผงเหล็กกล้าไร้สนิม AISI 409L ด้วยทองแดงen_US
dc.title.alternativeInfiltration and liquid phase sintering of stainless steel powder type AISI 409L with copperen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSawai.D@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ornmanee_co_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ840.44 kBAdobe PDFView/Open
Ornmanee_co_ch1_p.pdfบทที่ 1670.26 kBAdobe PDFView/Open
Ornmanee_co_ch2_p.pdfบทที่ 21.42 MBAdobe PDFView/Open
Ornmanee_co_ch3_p.pdfบทที่ 3917.24 kBAdobe PDFView/Open
Ornmanee_co_ch4_p.pdfบทที่ 42.17 MBAdobe PDFView/Open
Ornmanee_co_ch5_p.pdfบทที่ 5681.28 kBAdobe PDFView/Open
Ornmanee_co_ch6_p.pdfบทที่ 6626.05 kBAdobe PDFView/Open
Ornmanee_co_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.