Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนกพร จิตปัญญา-
dc.contributor.authorวรุณศิริ ปราณีธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-04-08T01:56:57Z-
dc.date.available2008-04-08T01:56:57Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741754876-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6538-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านสภาวะสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับที่มารับการตรวจและวินิจฉัยเป็นครั้งแรก ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดี และหน่วยโรคระบบทางเดินหายใจและวัณโรค โรงพยาบาลศิริราช จำนวน 120 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดระดับความง่วงนอนในเวลากลางวัน แบบคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต แบบประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงแล้ว มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86 .94 และ .89 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติอีต้า (Eta) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง มีระดับคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ([Mean] = 3.27) 2. อายุ คุณภาพการนอนหลับและภาวะสุขภาพจิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .269 .320 และ .517 ตามลำดับ)en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the relationships between factors related to quality of life, and to study quality of life of the obstructive sleep apnea patients. One hundred and twenty patients from the Out Patient Department of Ramathibodi Hospital, and the Division of Respiratory Disease and Tuberculosis of Siriraj Hospital, wer chosen. The instruments used in the study were the personal factor, Epworth Sleepiness Scale (ESS), General Health Questionnaire (GHQ), and Quality of Life (QOL) questionnaires. All instruments were tested for the content validity and reliability. The alpha coefficients of Epworth Sleepiness Scale, General Health Questionnaire, and Quality of Life questionnaire were .86, .94 and .89, respectively. Pearson's product moment correlation and Eta were used for data analysis. Major findings revealed that : 1. The quality of life of obstructive sleep apnea patients was at the medium level ([Mean] = 3.27) 2. There was a positively significant correlation between age, quality of sleep and psychological status to quality of life of obstructive sleep apnea patients at the level .05 (r = .269, .320 and .517 respectively.en
dc.format.extent1176968 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทางเดินหายใจ -- โรคen
dc.subjectการนอนหลับen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับen
dc.title.alternativeFactors related to quality of life in obstructive sleep apnea patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorhchanokp@pioneer.netserv.chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warunsiri.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.