Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65443
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธเรศ ศรีสถิตย์ | - |
dc.contributor.author | ปนัดดา คำรัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-22T07:24:41Z | - |
dc.date.available | 2020-04-22T07:24:41Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741719884 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65443 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำกากขี้แป้งจากโรงงานน้ำยางข้นซึ่งเป็นของเสียมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นถ่านกัมมันต์ที่มีคุณภาพ โดยได้ศึกษาประสิทธิภาพของการกำจัดตะกั่วและปรอทในน้ำเสียสังเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่างถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากกากขี้แป้งกับ ถ่านก้มมันต์ที่จำหน่ายตามท้องตลาดทั่วไป โดยถ่านขี้แป้งที่เตรียมขึ้นนั้นใช้เกลือแกงเป็นสารกระตุ้นและทำการล้างสารกระตุ้นด้วยกรดเจือจาง เมื่อนำไปศึกษาลักษณะทางกายภาพ พบว่า ถ่านขี้แป้งมีค่าไอโอดีนนัมเบอร์510 มิลลิกรัมไอโอดีนต่อกรัมถ่านกัมมันต์ และมีพื้นที่ผิว 566.39 ตารางเมตรต่อกรัม จากนั้นได้ทำการทดลองแบบแบตช์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผสต่อการดูดติดผิวตะกั่วและปรอท ได้แก่ พีเอช ความเข้มข้นของโลหะหนัก และปริมาณถ่าน เพื่อทดสอบไอโซเทอมการดูดติดผิวแบบฟรุนดลิช พบว่า ที่พีเอช 4 และความเข้มข้น 10 มิลลิกรัม/ลิตร มีเปอร์เซ็นต์การกำจัดตะกั่วและปรอทดีที่สุด จากการทดสอบไอโซเทอมของการดูดติดผิวแบบฟรุนดลิซโดยใช้น้ำเสียสังเคราะห์ แสดงให้เห็นว่าถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากกากขี้แป้งมีความสามารถในการดูดติดผิวตะกั่วและปรอทได้ 116.18 และ 18.78 มิลลิกรัมต่อกรัมถ่านกัมมันต์ตามลำดับ และถ่านการค้ามีความสามารถในการดูดติดผิวตะกั่วและปรอท ได้ 11.07 และ 98.85 มิลลิกรัมต่อกรัมถ่านกัมมันต์ตามลำดับ การทดสอบแบบต่อเนื่องในคอลัมน์ ได้ใช้ถ่านขี้แป้งที่มีดินเหนียวเป็นวัสดุเชื่อมประสาน และทำการป้อนน้ำเสียอย่างต่อเนื่องแบบไหลลง ด้วยอัตราการไหล 3 ลิตร/ชั่วโมง และเก็บน้ำเสียจนกระทั่งถ่านหมดประสิทธิภาพในการดูดติดผิว พบว่าถ่านกัมมันต์ที่ชั้นความสูง 30, 60, 90 และ 120 เซนติเมตร สามารถบำบัดตะกั่วในนํ้าเสียได้ 5865.58, 3910.39, 3909.50 และ 3054.47 BV ตามลำดับ และสามารถบำบัดปรอทได้ 28.87, 16.04, 11.76 และ 9.62 BV ตามลำดับ จากผลการทดลองแบบฟรุนดสิชและแบบต่อเนื่องแสดงให้เห็นว่าก้มมันต์ที่ผลิตจากกากขี้แป้งมีความเหมาะสมในการกำจัดตะกั่วมากกว่าปรอท | - |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to prepare activated carbon from sludge of latex industry and compare the efficiency in lead and mercury removal between the activated carbon prepared from sludge of latex industry and commercial activated carbon. In this research was use NaCI for activation and washing with 5 % HCI to remove NaCI. From the study of physical characteristics the results were shown that the activated carbon prepared from sludge of latex industry had iodine number 510 mg/g and its surface area was 566.39 m2/g. In batch experiment was studied factor effect of lead and mercury adsorption efficiency, the result were shown that the best adsorption efficiency of both types were at pH 4 and concentration 10 mg/l of both heavy metal. From freundlich adsorption isotherm test with synthetic wastewater, it was found that the activated carbon prepared from sludge of latex industry had ultimate capacity of lead and mercury were 116.18 and 18.78 mg/g carbon respectively. And commercial activated carbon had ultimate capacity of lead and mercury were 11.07 and 98.85 mg/g carbon respectively. In continuous studies in column adsorption test which use activated carbon with clay binding. Wastewater was fed continuously down flow with 3 I / h and collected wastewater until the breakthrough point of activated carbon. The result were shown that activated carbon prepared from sludge of latex industry at the height level of 30, 60, 90 and 120 centimeters can treated lead in wastewater 5865.58, 3665.98, 3909.50 and 3054.47 BV respectively. And can treated mercury in wastewater 28.87, 16.04, 11.76 and 9.62 BV respectively. From the result of freundlich adsorption isotherm test and continuous studies shown that activated carbon prepared from sludge of latex industry had more removal efficiency in lead than mercury. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คาร์บอนกัมมันต์ | en_US |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนัก | en_US |
dc.subject | ตะกั่ว | en_US |
dc.subject | ปรอท | en_US |
dc.subject | Carbon, Activated | en_US |
dc.subject | Sewage -- Purification -- Heavy metals removal | en_US |
dc.subject | Lead | en_US |
dc.subject | Mercury | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพของถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากกากขี้แป้งของโรงงานน้ำยางข้นในการกำจัดตะกั่วและปรอทในน้ำเสียสังเคราะห์ | en_US |
dc.title.alternative | Efficiency of activated carbon prepared from sludge of latex industry for the removal of lead and mercury in synthetic wastewater | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Thares.s@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panatda_ka_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 857.93 kB | Adobe PDF | View/Open |
Panatda_ka_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 649.4 kB | Adobe PDF | View/Open |
Panatda_ka_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Panatda_ka_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Panatda_ka_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Panatda_ka_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 655.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Panatda_ka_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 847.21 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.