Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65461
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรวิช ชัยนาม | - |
dc.contributor.author | มัชฌิมา กุญชรานุสสรณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-23T05:30:17Z | - |
dc.date.available | 2020-04-23T05:30:17Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741735413 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65461 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | จุดมุ่งหมายของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ คือ การศึกษาถึงบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ที่อยู่เบื้องหลัง การตัดสินใจของสหรัฐอเมริกาในประเด็นพิธีสารเกียวโต ซึ่งพิธีสารเกียวโตเป็นความร่วมมือภายใต้กรอบ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ พิธีสารดังกล่าวกำหนดให้ประเทศ อุตสาหกรรมมีพันธกรณีในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และทุกประเทศมีข้อผูกพันตาม กฎหมายในอันที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อตกลงแห่งพิธีสารนี้ สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ได้ ร่วมลงนามในพิธีสารเกียวโตเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.1998 แต่รัฐบาลภายใต้ประธานาธิบดีคลินดัน ไม่ได้เสนอเรื่องนี้เข้าล่การพิจารณาของสภาคองเกรสแต่อย่างใด โดยกล่าวว่าจะนำเสนอเรื่องนี้เข้าสู่การ พิจารณาของสภาก็ต่อเมื่อได้รับการยืนยันจากประเทศกำลังพัฒนาในการเข้าร่วมโครงการลดปริมาณก๊าซ เรือนกระจกตามพิธีสารเกียวโตเช่นเดียวกับประเทศอุตสาหกรรมเสียก่อน ในปี ค.ศ.2001 ประธานาธิบดี จอร์จ ตับเบิลยู บุซ ขึ้นดำรงตำแหน่งได้ให้ฝ่ายบริหารทำการหารือในระตับคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเกี่ยว กับนโยบายทางด้านสภาพภูมิอากาศของสหรัฐอเมริกา ซึ่งฝ่ายบริหารได้ออกแถลงการณ์ว่าพิธีสารเกียวโต เป็นนโยบายที่ไม่สามารถปฏิบัติได้จริง และในเดือนมิถุนายน ค.ศ.2001 ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุซ ก็ได้ออกมาแถลงนโยบายในประเด็นพิธีสารเกียวโตว่า สหรัฐอเมริกาจะไม่เข้าร่วมในพิธีสารดังกล่าว ทั้งๆ ที่มีประเทศต่างๆ เข้าร่วมลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโตแล้ว 140 กว่าประเทศ จากการศึกษาพบว่า กลุ่มผลประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจและอุตสาหกรรมน้ำมันมีบทบาท อย่างมากในการพยายามชักจูงรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในการดำเนินนโยบายในประเด็นพิธีสารเกียวโต ทำ ให้ไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากลุ่มธุรกิจและอุตสาหกรรมน้ำมันมีบทบาทอย่างมากในทางการเมืองสหรัฐอเมริกา และมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this thesis is to study the role of interest groups behind the U.S. decision on the Kyoto Protocol. The Kyoto Protocol, which in part of the United Nations Framework Convention on Climate Change, obliges industrialized nations to undertake specific and legally binding reductions in the emission of greenhouse gases. The United States signed the Protocol on November 12, 1998. However, the Clinton Administration indicated that it would not submit the Protocol for Senate ratification until meaningful commitments were made by developing countries. Although more than hundred forty nations have now ag reed on the legally binding emissions reduction, in Jun e 2001, President Bush issued a policy statement as rejecting the Kyoto Protocol. The study confirms that interest groups especially the oil industry bear responsibility for the U.S. decision not to ratify the Kyoto Protocol even if it is the only international agreement to tackle global warming. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก -- นโยบายของรัฐ -- สหรัฐอเมริกา | en_US |
dc.subject | สหรัฐอเมริกา -- การเมืองและการปกครอง | en_US |
dc.subject | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ | en_US |
dc.subject | กลุ่มอิทธิพล -- สหรัฐอเมริกา | en_US |
dc.subject | Climatic changes -- Government policy -- United States | - |
dc.subject | The Kyoto Protocol | - |
dc.subject | Pressure groups -- United States | - |
dc.subject | United States -- Politics and government | - |
dc.title | สหรัฐอเมริกากับพิธีสารเกียวโต : บทบาทของกลุ่มผลประโยชน์กับความร่วมมือต่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.title.alternative | The impacts of interest groups on the American stance toward the Kyoto protocol | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Soravis.J@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Machima_ku_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 865.98 kB | Adobe PDF | View/Open |
Machima_ku_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Machima_ku_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Machima_ku_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Machima_ku_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Machima_ku_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Machima_ku_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.