Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuporn Koottatep-
dc.contributor.authorNonthaporn Buddharaksa-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2020-04-27T15:13:55Z-
dc.date.available2020-04-27T15:13:55Z-
dc.date.issued2002-
dc.identifier.issn9741727801-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65558-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002en_US
dc.description.abstractThis work investigated the information of waste management in general hospitals to establish benchmarking of hospital waste management and to propose waste minimization options for waste management in hospital. The study was carried out in general hospitals (public and private hospital) located in Chiang Mai City during the period of October 2002 to Febuary 2003. The hospital waste composition survey documented that the generation rate of total solid waste from hospitals in Chiang Mai City varied from 2.38 to 5.10 kg per occupied bed per day and 0.336 to 1.039 kg per patient per day. The waste generation rate in private hospital was found to be higher compared to public hospital. The analysis of quantification indicated that the occupancy rate and the number of total patient affected the rate of waste generation. In the study of existing waste management practices in surveyed hospitals, the informations were surveyed by questionnaires, interviwing and site inspection. This study indicated that the private hospitals seem to have good management providing source separation, pretreatment of some infectious waste, educated staffs and implemented source reduction. In the study of hazardous waste management in surveyed hospitals, the existing and potential hazardous waste minimization options were characterized for the following waste streams: solvent, chemotherapy waste, photographic chemicals, formaldehyde waste, radioactive waste, mercury and other toxics and corrosives. The hazardous waste study found that chemotherapy waste represent the highest volume of hazardous waste at each hospital. This was followed by spent photographic chemical and formaldehyde solution. The benchmark data and the proposed waste minimization options for hospital have been establised.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับการรวบรวมข้อมูลด้านการจัดการของเสียของโรงพยาบาลทั่วไป เพื่อนำข้อมูลที่ได้จัดทำเป็น Benchmarking ของการจัดการของเสียในโรงพยาบาลและเพื่อนำเสนอการใช้แนวทางการลดของเสียในการจัดการของเสียโรงพยาบาล โดยทำการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากโรงพยาบาลทั่วไป (ทั้งโรงพยาบาลรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชน) ที่ตั้งอยู่ในบริเวณเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนตุลาคม 2545 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2546 โดยผลการวิเคราะห์ด้านปริมาณและคุณสมบัติทางกายภาพของของเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากโรงพยาบาลพบว่า อัตราการเกิดของเสียทั้งหมดของจากโรงพยาบาลทั่วไปในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ มีค่าอยู่ระหว่าง 2.38 ถึง 5.10 กิโลกรัมต่อเตียง (ที่มีผู้เข้าพัก) ต่อวัน และ 0.336 ถึง 1.039 กิโลกรัมต่อผู้ป่วยต่อวัน จากการวิเคราะห์พบว่าปัจจัยหลักที่มีผลต่ออัตราการเกิดของเสียคือสถานภาพของโรงพยาบาล ซึ่งโรงพยาบาลเอกชนมีอัตราการเกิดของเสียมากกว่าโรงพยาบาลรัฐบาลที่มีขนาดเท่ากัน ทั้งนี้เป็นผลจากอัตราเตียงที่มีผู้เข้าพักและจำนวนคนไข้ที่เข้ารับการรักษาซึ่งมีค่าน้อยกว่าในโรงพยาบาลเอกชน จากการศึกษาแนวทางการจัดการของเสียในโรงพยาบาลโดยแบบสอบถามและทำการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่าโรงพยาบาลเอกชนมีการจัดการของเสียที่ดีกว่าโรงพยาบาลในด้านของการแยกของเสียที่แหล่งเกิด การบำบัดเบื้องต้นของเสียประเภทติดเชื้อ การให้ความรู้แก่บุคลากร และการใช้แนวทางการลดของเสียจากโรงพยาบาล ในการศึกษาเรื่องการจัดการของเสียอันตรายเพื่อศึกษาแนวทางลดของเสียที่เหมาะสมโดยใช้แบบสอบถาม, การสัมภาษณ์ และการสำรวจบริเวณ พบว่าของเสียอันตรายที่เกิดขึ้นจากโรงพยาบาลประกอบด้วยของเสียที่เป็นตัวทำละลาย ของเสียจากยาประเภทเคมีบำบัด ของเสียประเภทน้ำยาล้างรูป ของเสียประเภทฟอร์มาลิน ของเสียประเภทที่มีกัมมันตรังสี ของเสียประเภทปรอท และของเสียที่ประกอบด้วยสารพิษและสารกัดกร่อนต่างๆ จากผลการศึกษาพบว่าของเสียอันตรายที่เกิดขึ้นมากที่สุดในโรงพยาบาลคือ ของเสียประเภทยาเคมีบำบัด รองลงมาคือของเสียประเภทน้ำยาล้างรูปและของเสียประเภทฟอร์มาลิน ส่วนของเสียอันตรายอื่นๆ เกิดขึ้นในปริมาณไม่มากนัก โดยการศึกษาพบว่าการจัดการของเสียอันตรายในโรงพยาบาลยังไม่เป็นที่แพร่หลายในโรงพยาบาลทั่วไปของไทย เนื่องจากไม่มีกฎหมายหรือข้อบังคับใดเกี่ยวกับของเสียอันตรายที่เกิดจากโรงพยาบาลโดยตรง อย่างไรก็ตามผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าแนวใช้แนวทางการลดของเสียสามารถลดปริมาณการเกิดของเสียอันตรายในโรงพยาบาลอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่ไม่มีการจัดการของเสียอันตรายen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectBenchmarking (Management)en_US
dc.subjectHospitals -- Waste disposalen_US
dc.subjectRefuse and refuse disposal, Salvage (Waste, etc.)en_US
dc.subjectHazardous wastesen_US
dc.subjectการเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ)en_US
dc.subjectโรงพยาบาล -- การกำจัดของเสียen_US
dc.subjectการจัดการของเสียen_US
dc.subjectของเสียอันตรายen_US
dc.titleBenchmarking of hazardous waste management in hospitalen_US
dc.title.alternativeเบนชมาร์กกิ้งของการจัดการของเสียอันตรายในโรงพยาบาลen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineEnvironmental Management (Inter-Department)en_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information Provided-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nonthaporn_bu_front_p.pdfCover Abstract and Contents813.65 kBAdobe PDFView/Open
Nonthaporn_bu_ch1_p.pdfChapter 1773.51 kBAdobe PDFView/Open
Nonthaporn_bu_ch2_p.pdfChapter 22.11 MBAdobe PDFView/Open
Nonthaporn_bu_ch3_p.pdfChapter 3780.96 kBAdobe PDFView/Open
Nonthaporn_bu_ch4_p.pdfChapter 42.11 MBAdobe PDFView/Open
Nonthaporn_bu_ch5_p.pdfChapter 5729.32 kBAdobe PDFView/Open
Nonthaporn_bu_back_p.pdfReferences and Appendix1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.