Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65661
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อนุกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.advisor | สุมาลี สุขดานนท์ | - |
dc.contributor.author | กิตติพงษ์ วิสมิตะนันทน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2020-05-03T14:46:15Z | - |
dc.date.available | 2020-05-03T14:46:15Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.issn | 9741740174 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65661 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาปัจจัยและค่าระดับของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการอู่เรือของผู้ประกอบการเดินเรือ และพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับใช้ทำนายความคิดการเลือกใช้อู่เรือในนิคมอุตสาหกรรมอู่เรือแหลมฉบัง การวิเคราะห์และคัดเลือกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการอู่เรือของผู้ประกอบการเดินเรืออาศัยเทคนิคการวิเคราะห์ 2 วิธีคือ วิธีการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยความสำคัญของปัจจัย และวิธีวิเคราะห์ค่าคู่อันดับ ในส่วนของการพัฒนาแบบจำลองการเลือกใช้อู่เรือในนิคมฯ จะสำรวจข้อมูลโดยอาศัยเทคนิค Stated Preference (SP) ซึ่งเป็นเทคนิคการศึกษาการตัดสินใจเลือกใช้บริการอู่เรือภายใต้สถานการณ์สมมติ ข้อมูลที่ได้จะนำมาพัฒนาเป็นแบบจำลองประเภทโลจิต สำหรับวิเคราะห์สถานการณ์ทางเลือกที่มีเพียง 2 ทางเลือก (Binary Logit Model) คือทางเลือกอู่เรือในนิคมฯ กับอู่เรือที่ผู้ประกอบการเดินเรือใช้บริการอยู่ในปัจจุบัน ผลที่ได้จากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าปัจจัยที่ผู้ประกอบการอู่เรือควรให้ความสนใจเพื่อนำไปปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการ ได้แก่ ความถูกต้องของการคิดราคาค่าซ่อม การใช้วัสดุถูกต้องตามมาตรฐานกำหนด การซ่อมเสร็จตามเวลาที่กำหนด ความเหมาะสมของอัตราค่าซ่อม ระยะเวลาที่ใช้ในการซ่อม ความสะดวกของสถานที่ตั้ง ความชำนาญของช่าง และ ระยะเวลาที่ใช้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นหน้างาน และจากการตรวจสอบแบบจำลองพบว่าผู้ประกอบการเดินเรือไม่ได้ให้ความสำคัญคับตัวแปรระยะทางระหว่างท่าเทียบเรือสุดท้ายค่อนการนำเรือเข้าซ่อมกับอู่เรือเนื่องจากมีค่าไม่แตกต่างจากอู่เรือที่ใช้บริการอยู่ในปัจจุบันมากนัก และจากการวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่น พบว่าผู้ประกอบการเดินเรือในประเทศไทยมีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงตัวแปรราคาค่าซ่อมมากกว่าการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรระยะเวลาในการซ่อมเรือที่ลดลง | - |
dc.description.abstractalternative | This thesis examined the factors and their hierarchy influencing the selection of services offered in the shipyard by ship owners’ and developed a mathematical model to be used in predicting preferred services to be employed in Laem Chabang Shipyard Industrial Estate. Two techniques were used in the analysis and selection of the influential factors, one is to find the mean of the importance of the factors and the other is quadrant analysis. The mathematical model developed was based on binary logit type allowing two scenarios between not relocating and relocating to Laem Chabang Industrial Estate. The input data was from stated choice preference survey. The result revealed that there are eight categories of prime important to the shipyard users. They are ranked in decision order of important as rightness in repairing cost, use of standard materials, on time scheduling, appropriate repairing cost, repairing time, accessibility to the site, skill of the workers and fastness in solving unexpected problems. The model gives that Thai ship owners’ give more priority to repairing cost more than the distance from the site of last visited. Sensitivity analysis revealed that repairing cost is more sensitive than decreasing in repairing time. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อู่เรือ -- ไทย | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | ท่าเรือแหลมฉบัง | en_US |
dc.subject | Docks -- Thailand | en_US |
dc.subject | Consumer behavior | en_US |
dc.subject | Laem Chabang Shipyard | en_US |
dc.title | การตัดสินใจเลือกใช้บริการในอู่ซ่อมเรือ : กรณีศึกษาโครงการนิคมอุตสาหกรรมอู่เรือแหลมฉบัง | en_US |
dc.title.alternative | Decision in selecting services in a shipyard : a case study of Laem Chabang Shipyard Industrial Estate | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Anukalya.I@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Sumalee.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kittipong_vi_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 814.35 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kittipong_vi_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 725.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kittipong_vi_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kittipong_vi_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kittipong_vi_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kittipong_vi_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 730.01 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kittipong_vi_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.