Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล วัชราภัย-
dc.contributor.advisorอำไพ ตีรณสาร-
dc.contributor.authorนิรัช สุดสังข์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-14T15:44:56Z-
dc.date.available2020-05-14T15:44:56Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740307752-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65765-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์และคะแนนการสร้างสรรค์ผลงานก่อนและหลังเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมซินเน็คติกส์ในบทเรียนมัลติมีเดีย 4 วิธีการ 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์และคะแนนการสร้างสรรค์ ผลงานของนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียนมัลติมีเดียในการจัดกิจกรรมต่างกัน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์กับการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบของนักศึกษาที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมซินเน็คติกส์ในบทเรียนมัลติมีเดียแต่ละวิธี แผนการทดลองเป็น แบบ Pretest-Posttest Randomized Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) กิจกรรมซินเน็คติกส์ในบทเรียนมัลติมีเดีย 2) แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance (Figural test Booklet B ,1968) และ 3) แบบประเมินผลงานการออกแบบ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 72 คน แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 18 คน ซึ่งเรียนด้วยกิจกรรมซินเน็คติกส์ในบทเรียนมัลติมีเดียการอุปมาอุปไมย 4 วิธีการตาม ทฤษฎีของ Gordon (1961) คือ อุปมาอุปไมยตรง อุปมาอุปไมยเชิงสัญลักษณ์ อุปมาอุปไมยตามความรู้สึกของตน และอุปมาอุปไมยเพ้อฝัน สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ Two- way ANO V A และ Pearson’s correlation Coefficient ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนความคิดสร้างสรรค์และคะแนนการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบของนักศึกษาโดยการจัดกิจกรรมซินเน็คติกส์ในบทเรียนมัลติมีเดียทั้ง 4 วิธีหลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์และคะแนนการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบของนักศึกษาโดยการจัดกิจกรรมซินเน็คติกส์ทั้ง 4 วิธีในบทเรียนมัลติมีเดียไม่แตกต่างกัน 3) คะแนนความคิดสร้างสรรค์กับการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบจากการเรียนโดยการจัดกิจกรรมซินเน็คติกส์ทั้ง 4 วิธีในบทเรียนมัลติมีเดียมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were 1) to compare pretest and posttest creative thinking and the creative products scores of the undergraduates who studied multimedia lessons which consisted of 4 synectic activities, 2) to compare the creative thinking and the creative product scores of the undergraduates who studied multimedia lessons of each synectic activity, and 3) to study the relationship between the creative thinking and the creative products of the undergraduates who participated in the multimedia lessons of each synectic activity. The experimental design was Pretest-Posttest Randomized design. The research instruments were 1) multimedia lessons which synectic activities, 2) Torrance’s creative thinking test (Figurai test Booklet B,1968), and 3) evaluation form for creative products in the industrial design. The sample group included 72 undergraduates. They were randomly divided into 4 experimental groups each contained 18 students. The synectic multimedia lessons consisted of 4 different analogies which are Direct Analogy, Symbolic Analogy, Personal Analogy, and Fantasy Analogy (Gorgon, 1961). Two-way ANO V A and Pearson’s correlation coefficient were utilized for statistical analysis. The results of this research were 1 ) there was a significant of both the creative thinking scores and the creative product scores. The scores after completing all multimedia lessons were higher than the scores before taking the lessons at the significant level of .05, 2) there was no significant different between creative thinking and creative products of the undergraduates who learned the synectic activities in multimedia lessons, and 3) there was positive relationship between creative thinking and the creative product scores after studying multimedia lessons with 4 synectic activities at the significant level of .05.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.290-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกิจกรรมซินเนคติกส์en_US
dc.subjectระบบมัลติมีเดียในการศึกษา--ไทยen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์--ไทยen_US
dc.subjectการสร้างสรรค์ (วรรณกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ)en_US
dc.subjectการออกแบบอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectMultimedia systems in educationen_US
dc.subjectCreative thinkingen_US
dc.subjectCreation (Literary, artistic, etc.)en_US
dc.subjectIndustrial designen_US
dc.titleผลของกิจกรรมซินเน็คติกส์ในบทเรียบมัลติมีเดียที่มีต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างสรรค์ผลงานในวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีen_US
dc.title.alternativeEffects of synectic activities in multimedia lessons in developing creative thinking and creative products in industrial design course for undergraduate studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuvimol.V@Chula.ac.th-
dc.email.advisorAmpai.Ti@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.290-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nirat_so_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ881.33 kBAdobe PDFView/Open
Nirat_so_ch1_p.pdfบทที่ 11.09 MBAdobe PDFView/Open
Nirat_so_ch2_p.pdfบทที่ 23.77 MBAdobe PDFView/Open
Nirat_so_ch3_p.pdfบทที่ 31.17 MBAdobe PDFView/Open
Nirat_so_ch4_p.pdfบทที่ 41 MBAdobe PDFView/Open
Nirat_so_ch5_p.pdfบทที่ 5918.5 kBAdobe PDFView/Open
Nirat_so_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก5.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.