Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65799
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล กิตติศุภกร-
dc.contributor.authorพิจักษณ์ มีทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-15T12:17:40Z-
dc.date.available2020-05-15T12:17:40Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740308023-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65799-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการควบคุมแบบเจนเนริกโมเดล (จีเอ็มซี) เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นการควบคุมแบบไม่เชิงเส้นที่อาศัยแบบจำลองของกระบวนการ ข้อได้เปรียบของการควบคุมชนิดนี้คือสามารถใช้แบบจำลองไม่เชิงเส้นของกระบวนการในโครงสร้างการควบคุมได้โดยตรง ซึ่งไม่จำเป็นต้องทำการประมาณให้เป็นเชิงเส้นก่อน อย่างไรก็ตามตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีเป็นเทคนิคที่ใช้ควบคุมกระบวนการที่มีค่าระดับสัมพันธ์เป็นหนึ่งเท่านั้นไม่สามารถนำไปใช้กับกระบวนการที่มีค่าระดับสัมพัทธ์มากกว่าหนึ่งได้ จึงนับว่าเป็นงานที่น่าศึกษาอย่างยิ่งในการประยุกต์ใช้ตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีกับกระบวนการที่มีค่าระดับสัมพัทธ์มากกว่าหนึ่ง ในงานวิจัยนี้นำเสนอการประยุกต์ใช้ตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีกับกระบวนการที่มีค่าระดับสัมพัทธ์มากกว่าหนึ่งโดยอาศัยตัวแปรควบคุมภายใน โดยที่ตัวแปรควบคุมภายในนี้ก็คือตัวแปรออกที่มีผลกระทบซึ่งกันและกันกับตัวแปรที่ต้องการควบคุมและสามารถถูกควบคุมได้โดยตรงด้วยตัวแปรปรับ ซึ่งในการประยุกต์ใช้ตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีกับกระบวนการที่มีค่าระดับสัมพัทธ์มากกว่าหนึ่งนี้จะทำให้มีลูพในการควบคุมเพิ่มขึ้น โดยตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีในลูพนอกจะทำหน้าที่กำหนดค่าเป้าหมายที่เหมาะสมหรือลักษณการเปลี่ยนแปลงค่าเป้าหมายให้กับตัวแปรควบคาภายใน ในขณะที่ตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีที่ลูพในจะทำหน้าที่ควบคุมตัวแปรควบคุมภายในให้มีค่าตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่าเป้าหมายนั้น เพื่อเป็นการศึกถึงสมรรถนะในการควบคุมของตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีที่ใช้ตัวแปรควบคุมภายในนี้ จึงได้นำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมความเข้มข้นของสารภายในเครื่องปฏิกรณ์ถังกวนต่อเนื่องที่มีปฏิกิริยาแบบคายความร้อนอันดับหนึ่งซึ่งเป็นกระบวนการที่มีค่าระดับสัมพัทธ์เป็นสอง ซึ่งผลการจำลองการควบคุมแสดงให้เห็นว่าตัวควบคุมแบบจีเอ็มซีที่ใช้ตัวแปรควบคุมภายในนี้มีสมรรถนะในการควบคุมที่ดีกว่าตัวควบคุมแบบจีแอลซีและตัวควบคุมแบบพีไอ-
dc.description.abstractalternativeGeneric Model Control (GMC) is a well known nonlinear model-based controller. The advantage of this control technique is that process models of a nonlinear system appears directly in the GMC control algorithm, and it does not need to be linearized. However, the limitation of the GMC is that it is able to implement to processes of relative degree one only. In other words, so it cannot be applied to processes that have relative degree higher than one. Therefore, there have been attempted in the development of the GMC applicability for processes of relative degree higher than one. This research presents the applicability of GMC for processes of relative degree higher than one by introducing an internal controlled variable. The internal controlled variable is actually an output variable interacting with a desired controlled variable and can be controlled directly by a manipulate variable. To accomplish the control of relative degree higher than one processes by GMC, a single-loop control structure is replaced by a multi-loop control structure. An outer loop GMC is used to calculate proper set point or trajectory of the internal controlled variable, while an inner loop GMC is used to make the move of the internal controlled variable to follow the trajectory obtained from the outer loop. The performance of GMC with an internal controlled variable is compared with these of GLC and PI in the control case study: the concentration control of a continuous stirred tank reactor with first-order exothermic reactions. The simulation results have shown that the GMC with an internal controlled variable gives better control response than the GLC and PI do.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.279-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen_US
dc.subjectทฤษฎีการควบคุมไม่เชิงเส้นen_US
dc.subjectProcess controlen_US
dc.subjectNonlinear control theoryen_US
dc.titleจีเอ็มซีสำหรับกระบวนการที่มีค่าระดับสัมพัทธ์มากกว่าหนึ่ง : กรณีศึกษาการควบคุมความเข้มข้นของเครื่องปฏิกรณ์ถังกวนต่อเนื่อง ที่มีปฏิกิริยาแบบคายความร้อนอันดับหนึ่งen_US
dc.title.alternativeGMC for relative degree higher than one processes : a case study of a concentration control of continuous stirred tank reactor with first-order exothermic reactionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPaisan.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.279-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pijak_me_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ945.47 kBAdobe PDFView/Open
Pijak_me_ch1_p.pdfบทที่ 1747.78 kBAdobe PDFView/Open
Pijak_me_ch2_p.pdfบทที่ 21.01 MBAdobe PDFView/Open
Pijak_me_ch3_p.pdfบทที่ 31.46 MBAdobe PDFView/Open
Pijak_me_ch4_p.pdfบทที่ 42.33 MBAdobe PDFView/Open
Pijak_me_ch5_p.pdfบทที่ 51.96 MBAdobe PDFView/Open
Pijak_me_ch6_p.pdfบทที่ 6677.85 kBAdobe PDFView/Open
Pijak_me_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก957.62 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.