Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65863
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปารเมศ ชุติมา | - |
dc.contributor.author | หฤทัย ศุภพฤกษพงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-05-19T02:20:35Z | - |
dc.date.available | 2020-05-19T02:20:35Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741735804 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65863 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในเปรียบเทียบการจัดสมดุลสายการประกอบ 2 แบบ ได้แก่ การจัดสมดุลสายการประกอบแบบผลิตภัณฑ์เดียว และการจัดสมดุลสายการประกอบแบบหลายผลิตภัณฑ์ รวมทั้งวิธีการจัดสมดุลสายการประกอบ 2 แบบได้แก่ วิธี COMSOAL และวิธีปัจจุบันของโรงงานกรณีศึกษาซึ่งผลิตจอแสดงภาพ (Monitor) โดยการนำเทคนิคการจำลองแบบปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ผล ในการศึกษา ได้ทำการจัดสมดุลสายการประกอบด้วยวิธีการและรูปแบบต่าง ๆ แล้วทำการจำลองแบบปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ จากนั้นจึงนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ผลโดยใช้การออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียล ซึ่งปัจจัยที่ใช้ในการทดลองได้แก่ วิธีการจัดสมดุลสายการประกอบ รูปแบบการจัดสมดุลสายการประกอบ และความเร็วสายพาน แล้วทำการวัดประสิทธิภาพของระบบในด้านจำนวนสถานีงาน ประสิทธิภาพของสายการผลิต จำนวนผลผลิต และเวลาที่ชิ้นงานอยู่ในระบบ ผลที่ได้จากการจัดสมดุลสายการประกอบพบว่า การจัดสมดุลสายการประกอบแบบหลายผลิตภัณฑ์จะทำให้จำนวนสถานีงานในการผลิตจอแสดงภาพน้อยกว่า การจัดสมดุลสายการประกอบแบบผลิตภัณฑ์เดียว 5 สถานี ซึ่งหมายความว่าจำนวนคนงานที่ใช้น้อยกว่า 5 คน ผลที่ได้จากการออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียลพบว่า สำหรับทั้ง 3 สายการประกอบที่ทำการศึกษานั้น วิธีการจัดสมดุลสายการประกอบ และรูปแบบการจัดสมดุลสายการประกอบมีผลต่อทั้งเวลาที่ชิ้นงานอยู่ในระบบ จำนวนผลผลิต และประสิทธิภาพสายการผลิต โดยวิธี COMSOAL และการจัดสมดุลสายการประกอบแบบหลายผลิตภัณฑ์ทำให้เวลาที่ชิ้นงานอยู่ในระบบน้อยกว่าจำนวนผลผลิตมากกว่า และประสิทธิภาพสายการผลิตสูงกว่า สำหรับปัจจัยความเร็วสายพานจะมีผลต่อเวลาที่ชิ้นงานอยู่ในระบบเพียงอย่างเดียว โดยความเร็วสายพานที่เพิ่มชิ้นทำให้เวลาที่ชิ้นงานอยู่ในระบบลดลง โดยไม่มีผลต่อประสิทธิภาพสายการผลิต และจำนวนผลผลิต | - |
dc.description.abstractalternative | The main objective of this study is firstly to compare between single-model assembly line balancing and multi-model assembly line balancing of monitor production line. Secondly, it is to compare the line balancing method between COMSOAL technique and the plant method. The use of research enquiry is investigated by applying computer simulation techniques. In studying, the assembly line balancing has been executed by two line balancing types and two line balancing methods to the monitor assembly line, and proceeds by the simulation. Our results have been analyzed by experimental design with 3 factors, namely line balancing method, line balancing type and conveyor speed. Then, the efficient procedure is evaluated by the number of stations, line efficiency, output and throughput time. It has been found that the station number used in the multi-model assembly line balancing is less than the single-model one for 5 stations, which means 5 workers less. In addition, quantitative results from factorial design indicate that the method of line balancing and line balancing type provide many effects to line efficiency, output and throughput time. The multi-model assembly line balancing and COMSOAL technique contribute higher line efficiency value, higher output and less throughput time. Moreover, the conveyor speed only influences the throughput time, without any impact to line efficiency and output. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การจัดสมดุลสายการผลิต | en_US |
dc.subject | การควบคุมกระบวนการผลิต | en_US |
dc.subject | แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.subject | Assembly-line balancing | en_US |
dc.subject | Process control | en_US |
dc.subject | Computer simulation | en_US |
dc.title | การจัดสมดุลสายการประกอบแบบหลายผลิตภัณฑ์ โดยการจำลองแบบปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.title.alternative | Multi-model assembly-line balancing with computer simulation modeling | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Parames.C@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Haruetai_su_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 906.84 kB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 675.73 kB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_ch7_p.pdf | บทที่ 7 | 711.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
Haruetai_su_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.