Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร-
dc.contributor.authorจารุพรรณ ลีละยุทธโยธิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-20T07:26:09Z-
dc.date.available2020-05-20T07:26:09Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740315437-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65900-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานในทีมการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ ประสิทธิผลของหอผู้ป่วยโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการจำนวน 322 คน ได้จากการลุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามเกี่ยวกับกิจกรรมการ พัฒนาบุคลากร ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานในทีมการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .912 .959 .913 และ.867 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับลุง (X =3.666) 2. กิจกรรมการพัฒนาบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r =. 240) 3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .282) 4. การทำงานในทีมการพยาบาล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .695) 5. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ การทำงานในทีมการพยาบาล โดยสามารถพยากรณ์ความแปรปรวนของประสิทธิผลของหอผู้ป่วยได้ร้อยละ 48.3 (R2 = .483) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานดังนี้ ^Z ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย = .695* ทำงานในทีมการพยาบาล-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the relationships between personnel development activities, trust in head nurse, working เท nursing team, and effectiveness of patient units, and to determine the variables which could explain variance in effectiveness of patient units, hospitals under the jurisdiction of Bangkok Metropolitan Administration. The sample consisted of 322 staff nurses, selected by stratified random sampling technique. The research instruments were personnel development activities, trust in head nurse, working in nursing team, and effectiveness of patient units questionnaires which were judged by the panel of experts. Cronbach's alpha coefficients were .912, .959, .913 and .867, respectively The data were analyzed by using Pearson’s product moment correlation and multiple regression analysis. The major finding were as followed 1. The mean score of the effectiveness of patient units was at high level. (X =3.666) 2. There was significant correlation between personnel development activities effectiveness of patient units (r = .240, p<.01) 3. There was significant correlation between trust in head nurse and effectiveness of patient units (r = .282, p< .01) 4. There was significant correlation between working in nursing team and effectiveness of patient units (r= .695, p< .01) 5. Working in nursing team explained 48.3 percents of the variance in effectiveness of patient units (R2= .483, p< .001). The equation derived from the analysis as followed: Z effectiveness of patient units = .695* working in nursing team-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารen_US
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์en_US
dc.subjectความไว้วางใจen_US
dc.subjectการพยาบาลเป็นทีมen_US
dc.subjectNursing -- Administration-
dc.subjectHuman resources development-
dc.subjectTrust-
dc.subjectTeam nursing-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานในทีมการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeRelationships between personnel development activities, trust in head nurse, working in nursing team, and effectiveness of patient units, hospitals under the jurisdiction of Bangkok Metropolitan Administrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoonjai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Charupun_le_front_p.pdf780.42 kBAdobe PDFView/Open
Charupun_le_ch1_p.pdf898.74 kBAdobe PDFView/Open
Charupun_le_ch2_p.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open
Charupun_le_ch3_p.pdf945.24 kBAdobe PDFView/Open
Charupun_le_ch4_p.pdf804.15 kBAdobe PDFView/Open
Charupun_le_ch5_p.pdf910.79 kBAdobe PDFView/Open
Charupun_le_back_p.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.