Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต รัตนธรรมสกุล-
dc.contributor.authorปฏิรูป ผลจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-25T03:46:16Z-
dc.date.available2020-05-25T03:46:16Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740303218-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65979-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractสารอินทรีย์ธรรมชาติ (Natural Organic Matter หรือ NOM) เป็นสารอินทรีย์ที่พบอยู่โดยทั่วไปในแหล่งนํ้าที่ใช้ในการผลิตนํ้าประปา ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน ตลอดจนสารอินทรีย์อันตรายต่าง ๆ เช่นไตรฮาโลมีเทนในนํ้าประปาที่ผลิตได้ งานวิจัยนี้เป็นการทดลองเพี่อศึกษาถึงการทำงานของกระบวนการนาโนฟิลเตรชัน (NF) ในการกำจัด NOM โดยพิจารณาถึงผลของปัจจัยต่าง ๆ คือ ชนิดของเมมเบรน ความดัน ความเร็วสัมผัสผิวหน้าเมมเบรน (Crossflow Velocity) พีเอช ความเข้มข้นของโบรไมด์ การดำเนินระบบระยะยาว และการบำบัดขั้นต้นที่ต่างกัน ต่อการทำงานของกระบวนการ NF โดยใช้นํ้าดิบจากคลองประปาบริเวณจุดรับนํ้าของโรงกรองนํ้าสามเสน และนํ้าจากเขื่อนวชิราลงกรณ์ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเมมเบรนทั้งสามชนิดที่ใช้ คือ ES-10 NTR-729HF และNTR-7410 มีค่าฟลักซ์ และประสิทธิภาพในการกำจัด NOM ที่เพิ่มขึ้นตามความดัน แต่ยกเว้นสำหรับเมมเบรนชนิด NTR-7410 ในการดำเนินระบบกับน้ำจากคลองประปาสามเสนที่จะมีประสิทธิภาพลดลง เมื่อความดันมากกว่า 2 bar ค่าความเร็วสัมผัสผิวหน้าเมมเบรนที่มากขึ้นทำให้ประสิทธิภาพของเมมเบรนทั้งสามชนิดมีค่าสูงขึ้น แต่จะไม่มีผลต่อค่าฟลักซ์ และจากการศึกษาถึงผลของค่าพีเอช ทำให้พบว่ากลไกสำคัญที่ใช้ในการกำจัด NOM โดย NF เมมเบรน คือกลไกการกรองติดผิวเมมเบรน ความเข้มข้นของโบรไมด์ในช่วงที่ทำการศึกษาไม่มีผลต่อประสิทธิภาพในการกำจัด NOM และค่าฟลักช์ของเมมเบรน ในการศึกษาถึงการดำเนินระบบระยะยาวพบว่า การลดลงของค่าฟลักซ์ตามเวลาที่ใช้ไม่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนเนื่องจากค่าความดันที่ใช้มีค่าต่ำ และการดำเนินระบบโดยใช้เมมเบรนชนิด NTR-729HF กับน้ำที่บำบัดขั้นต้นโดยใช้กระบวนการไมโครฟิลเตรชัน (MF) จะมีค่าฟอลักซ์ที่สูงกว่าการดำเนินระบบกับน้ำที่บำบัดขั้นต้นโดย Cartridge Filter แต่จะมีประสิทธิภาพในการกำจัดNOM ที่ต่ำกว่า-
dc.description.abstractalternativeThe results shown that flux and removal efficiency of all 3 types of membrane used (ES-10,NTR-729HF,NTR-7410) were increased with increasing in pressure. Excepted for operating membrane type NTR-7410 with canal’s water that removal efficiency was decreased when pressure was more than 2 bar. Increasing in crossflow velocity made all types of membranes have more removal efficiency but had no effect on flux, studying of influence of pH on NF performance found that important mechanism for NOM removal is seiving. Range of bromide concentration used had no effect on NF performance. Flux decreasing with time cannot seen obviously because low pressure used. Pre-treatment by microfiltration made NTR-729HF has higher flux but lower NOM removal efficiency than pre-treatment by cartridge filter.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำประปาen_US
dc.subjectน้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์ -- การกรองen_US
dc.subjectนาโนฟิลเตรชันen_US
dc.subjectไตรฮาโลมีเทนen_US
dc.subjectWater -- Purification -- Filtration-
dc.subjectNanofiltration-
dc.subjectTrihalomethanes-
dc.titleการกำจัดสารอินทรีย์ธรรมชาติออกจากน้ำโดยใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันen_US
dc.title.alternativeRemoval of natural organic matters in water by the nanofiltration processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfencrt@kankrow.eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patiroop_ph_front_p.pdf942.35 kBAdobe PDFView/Open
Patiroop_ph_ch1_p.pdf668.14 kBAdobe PDFView/Open
Patiroop_ph_ch2_p.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Patiroop_ph_ch3_p.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open
Patiroop_ph_ch4_p.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open
Patiroop_ph_ch5_p.pdf739.49 kBAdobe PDFView/Open
Patiroop_ph_back_p.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.