Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.authorสุริยาพร ดวงอ้าย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialจังหวัดเชียงราย-
dc.date.accessioned2020-06-30T08:08:30Z-
dc.date.available2020-06-30T08:08:30Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741420048-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66698-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเรื่องการรับชมโทรทัศน์ร่วมกันของผู้ชมในชุมชนชนบทโดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับประเภทรูปแบบการก่อตัวของผู้รับสื่อสารมวลชนแนวคิดรื่องการใช้โทรทัศน์เพื่อเข้าร่วมสังคมการใช้สื่อและความพึงพอใจของผู้รับสารและแนวคิดเรื่องความสัมพันธ์ของผู้ชมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าใจพฤติกรรมการร่วมรับชมโทรทัศน์ของผู้ชมในชุมชนชนบทและเพื่อทราบถึงการรับชมโทรทัศน์ร่วมกันของผู้ชมในชุมชนชนบทที่สนองตอบความต้องการด้านสังคมและจิตใจผู้วิจัยทำการเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามเพื่อหากลุ่มผู้รัรบชมโทรทัศน์ร่วมกันและสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อศึกษารูปแบบพฤติกรรมในการรับชมโทรทัศน์ร่วมกันโดยทำการสัมภาษณ์เชิงลึกทุกหลังคาเรือนที่มีการรับชมโทรทัศน์ร่วมกันทั้งหมด 70 หลังคาเรือน ผลการวิจัยพบว่าการรับชมโทรทัศน์ของผู้ชมในชนบทนั้นยังทำการรับชมเป็นกลุ่ม 3 กลุ่มด้วยกันคือกลุ่มที่ 1 คือกลุ่มผู้ชมที่มีความสัมพันธ์ภายในครัวเรือนซึ่งมักจะรับชมโทรทัศน์ร่วมกันในบ้านเป็นประจำกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มผู้ชมไม่ใช่สมาชิกในครอบครัวแต่มีความสนิทสนมคุ้นเคยและรับชมโทรทัศน์ร่วมกันเป็นประจำและกลุ่มที่ 3 คือกลุ่มผู้ชมที่มารับชมโทรทัศน์ร่วมกันเป็นบางโอกาสนอกจากนี้ยังพบว่า3 หลังคาเรือนไม่มีเครื่องรับโทรทัศน์ต้องออกไปดูครัวเรือนอื่นผู้รับชมโทรทัศน์ในแต่ละกลุ่มนั้นมีรูปแบบพฤติกรรมในการรับชมโทรทัศน์ร่วมกันแตกต่างกันออกไปตามระดับความสัมพันธ์และสถานที่จัดวางโทรทัศน์โดยพบว่าการรับชมโทรทัศน์จะเป็นกิจกรรมร่วมขณะรับประทานอาหารเย็นร่วมกันในกลุ่มที่รับชมร่วมกันในครอบครัวและพบว่าการรับชมโทรทัศน์ในกลุ่มเพื่อนสนิทนั้นมักจะเกิดขึ้นประจำและเป็นรายการที่ผู้ชมสนใจร่วมกันส่วนการรับชมโทรทัศน์ร่วมกันในบางโอกาสนั้นจะเกิดขึ้นบริเวณร้ายขายของชำหรือในตลาดรายการที่รับชมจะเป็นรายการประเภทกีฬาการแข่งขันแช่นมวยหรือการถ่ายทอดกีฬานัดสำคัญ-
dc.description.abstractalternativeThis research is a study of the co-viewing of television within a rural community, major theoretical frame works were based on the typology of mass media audience formation, the social uses of television, uses and gratification and viewer relationship. The purpose of this research was to determine and shed some insights into the understanding of television co-viewing behavior, based in the rural surrounding, which response to the social and psychological the co-viewing partnerships, and subsequently carried out an in-depth interview to understand further the co-viewing protocol. The in depth interviews were made with all of the households that have the co-viewing a total of 70 households. Consequently, 3 main groups of co-viewing were discovered in this research. First group is the co-viewing found within a family unit this occurs on regular bases, second group being the co-viewing among close friends (non family unit) also happens on a regular bases and thirdly, is the co-viewing founded on occasions. Moreover, there were 3 households with no television and thus had to view television in other households. The co-viewing characteristic differs between each group depending on the level of the relationship within each group, as well as the location that the television was placed. Within a family unit, it was found that television co-viewing is an activity which occur during evening meal time, and that the co-viewing between close friends usually occur habitually as well as consistently, and that the programs are the main draw as all parties share the same interest in the programs. In the third group (occasion co-viewing partnership), usually occurs in the local grocery shop, or in the market, in this case the programs orientated towards mass interests such as sports, the main example being boxing or other major important events.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectผู้ชมโทรทัศน์-
dc.subjectโทรทัศน์เพื่อการพัฒนาชุมชน-
dc.subjectTelevision viewers-
dc.subjectTelevision in community development-
dc.titleการรับชมโทรทัศน์ร่วมกันของผู้ชมในชุมชนชนบทหมู่บ้านสันมงคล อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย-
dc.title.alternativeTelevision co-viewing in a rural community at Sunmongkol village, Maechan district, Chiang Rai province-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suriyaporn_du_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ872.71 kBAdobe PDFView/Open
Suriyaporn_du_ch1_p.pdfบทที่ 1910.7 kBAdobe PDFView/Open
Suriyaporn_du_ch2_p.pdfบทที่ 2885.92 kBAdobe PDFView/Open
Suriyaporn_du_ch3_p.pdfบทที่ 31.24 MBAdobe PDFView/Open
Suriyaporn_du_ch4_p.pdfบทที่ 44.27 MBAdobe PDFView/Open
Suriyaporn_du_ch5_p.pdfบทที่ 5827 kBAdobe PDFView/Open
Suriyaporn_du_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก5.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.