Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6672
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์ | - |
dc.contributor.author | จันทรนาถ พลชำนิ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-04-23T09:35:46Z | - |
dc.date.available | 2008-04-23T09:35:46Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741764529 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6672 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | จากตัวอย่างดินและน้ำ สามารถคัดแยกแบคทีเรียที่ผลิตไลเปสส่งออกนอกเซลล์ได้ทั้งสิ้น 14 ไอโซเลท เมื่อเปรียบเทียบชนาดของวงใสบนอาหารเลี้ยงเชื้อแข็งไตรบูไทริน และตรวจสอบแอคติวิตีของไลเปส พบว่าแบคทีเรีย C2 ให้ขนาดของวงใสและแอคติวิตีจำเพาะสูงที่สุดคือ 1.30 เซนติเมตร และ 1.821 หน่วยต่อมิลลิกรัมโปรตีน ตามลำดับ เมื่อนำแบคทีเรีย C2 มาศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการผลิตไลเปส พบว่าสามารถผลิตไลเปสได้สูงสุง เมื่อบ่มที่อุณหภูมิ 30 ํC ค่าความเผ็นกรดด่างของอาหารเลี้ยงเชื้อ 7.0 เป็นเวลา 18 ชั่วโมง ผลจากการศึกษาวิธีเตรียมไลเปสตรึงรูปพบว่า การตรึงโดยอาศัยหลักการดูดซับทางภายภาพโดยมีเม็ดแก้วเป็นตัวพยุง เป็นวิธีที่เหมาะสมในการตรึงรูปไลเปส โดยอุณหภูมิและค่าความเป็นกรดด่างที่เหมาะสมในการทำงานของไลเปสตรึงรูปอยู่ที่ 65 ํC และ 7.0 ตามลำดับ เมื่อนำไลเปสตรึงรูปไปใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันของนำมันปาล์มโดยมีเมทานอล พบว่าภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเมทิลเอสเทอร์คือ อัตราส่วนโดยโมลของน้ำมันปาล์มต่อเมทานอลเป็น 1:25 อุณหภูมิ 55 ํC และมีเฮกเซนในปฏิกิริยา 2 มิลลิลิตร โดยมีร้อยละเมทิลเอสเทอร์ที่ได้เมื่อเทียบกับปริมาณน้ำมันปาล์มตั้งต้นคืน 0.68 | en |
dc.description.abstractalternative | From soil and water samples collected from potential sources for having extracellular lipase producing bacteria, 14 isolates with lipase activity were found. Among those isolates, C2 was the highest lipase producing strain with 1.30 cm. clear zone on tributyrin media and showed 1.821 unit/mg for specific activity. The optimal conditions for lipase producing were 30 ํC. pH 7.0 and 18 h incubation. Immobilization of C2 lipase using physical adsorption onto glass beads was studied and the optimal confitions for lipase immobilization were 65 ํC and pH 7.0. Transesterification of palm oil with immobilized C2 lipase was investigated. The effects of oil/methanol molar ratio, temperature, time and solvent were analyzed. The optimal reaction conditions were, respectively, 1:25, 55 ํC, 18 h and at the present of 2 ml hexane. Under these conditions the methyl ester yield was 0.68%. C2 was identified as Staphylococcus warneri by 16S rDNA analysis (98% identities). | en |
dc.format.extent | 1816319 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เชื้อเพลิงไบโอดีเซล | en |
dc.subject | ทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน | en |
dc.subject | น้ำมันปาล์ม | en |
dc.subject | ไลเปส | en |
dc.subject | เอนไซม์ตรึงรูป | en |
dc.title | ภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผลิตไบโอดีเซลด้วยปฎิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน โดยไลเปสจากแบคทีเรีย | en |
dc.title.alternative | Optimal conditions for biodiesel production with transesterification using bacterial lipase | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Charnwit@sc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chantanarth_Po.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.