Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRathanawan Magaraphan-
dc.contributor.authorPatcharakamon Nooeaid-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2020-07-14T03:05:32Z-
dc.date.available2020-07-14T03:05:32Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67035-
dc.descriptionThesis (M.Sc.) -- Chulalongkorn University, 2008en_US
dc.description.abstractThe ring-opening polymerization of lactide was generated by a continuous single-step reactive extrusion process in the presence of 2-ethylhexanoic acid tin(II) salt, Sn(Oct)2, as a catalyst to obtain high molecular weight polylactide (PLA). For good practical applications of PLA, the softness of the PLA was modified via the graft copolymerization from poly (ethylene-co-vinyl alcohol) EVOH, which is a biocompatible, flexible and soft random copolymer. To investigate the chemical structure of the graft copolymer, the products were characterized by FTIR. The results show that the strong absorption emerged at 1740 cm-1 in the spectra of EVOH-g-PLA and pure PLA was identical, which assigned to carbonyl (C=O) in PLA. Therefore, these results could be confirmed that the ring-opening polymerization of lactide with EVOH by using catalytic extrusion was carried out successfully. Furthermore, the EVOH-g-PLA copolymers gave the number average molecular weight (Mw) ranging from 24.5x104 to 36.6x104 g/mol. The amount of graft copolymer and the grafting degree showed a maximum at catalyst content around 0.5 wt%. The optimized LA/EVOH content and the screw speed were 50/50 wt% and 40 rpm, respectively. Furthermore, the EVOH-g-PLA copolymers were fabricated into bioplastic films by compression moulding technique for morphological study by SEM and mechanical testing. The elongation of grafted PLA were improved significantly compared to pure PLA. The tradeoff included the reduction of tensile strength.-
dc.description.abstractalternativeปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่นแบบเปิดวงของแลคไทด์เกิดขึ้นโดยใช้เทคนิครีแอกทีพเอกทรูชั่นซึ่งสามารถทำปฏิกิริยาในขั้นตอนเดียว โดยใช้กรดเกลือของธาตุสแตนนัสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อทำการสังเคราะห์โพลีแลคไทด์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูง แต่เนื่องด้วยความเปราะของโพลีแลคไทด์ซึ่งเป็นข้อจำกัดในการใช้งานหลายประเภท โพลีแลคไทดจึงจำเป็นอย่างยิ่งต่อการปรับปรุงสมบัติทางด้านความอ่อนนุ่มด้วยวิธีการพอลิเมอร์ไรเซชั่นแบบกราฟ โดยเลือกใช้เอทธีลีนไวนิลแอลกอฮอล์ โคพอลิเมอร์ เป็นสายโซ่หลัก เนื่องจากเอทธีลีนไวนิลแอลกอฮอล์ โคพอลิเมอร์ มีสมบัติทางด้านความยืดฺหยุ่นและเข้ากับวัสดุธรรมชาติด้วยกันได้ดี เพื่อศึกษาโครงสร้างทางเคมีของกราฟโคพอลิเมอร์ที่ได้ เครื่องฟรูเรีขทรานสฟอร์มสเปกโทรสโคปีถูกใช้ในการวิเคราะห์ พบว่าการปรากฏของพีคที่ 1740 cm-1 แสดงถึงหมู่คาร์บอนิลในโพลีแลคไทด์ซึ่งเป็นสายโซ่กิ่งในกราฟโคพอลิเมอร์ ซึ่งสามารถยืนยันได้ว่าปฏิกิริยาพอลิเมอรฺไรเซชั่นแบบเปิดวงของแลคไทด์โดยใช้หมู่ไฮดรอกซิลในเอทธีลีนไวนิลแอลกอฮอล์ โคพอลิเมอร์เปีนส่วนทีทำให้เกิดปฏิกิริยาสามารถประสบความสำเร็จได้ด้วยเทคนิคแคททาไลติกเอกทรูชั่น ซึ่งกราฟโคพอลิเมอร์ที่สังเคราะห์ได้มีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยโดยนำหนักประมาณ24.5x104 ถึง 36.0X104 กรัม/โมล นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาถึงผลกระทบของอัตราส่วนระหว่างแลคไทด์และเอทธีลีนไวนิลแอลกอฮอล์ โคพอลิเมอร์ความเร็วรอบหมุนของสกรู และความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยา พบว่าปริมาณของกราฟโคพอลิเมอร์และประสิทธิภาพในการกราฟให้ค่าสูงสุด เมื่อใช้อัตราส่วนของแลคไทด์ต่อเอทธีลีนไวนิลแอลกอฮอล์ประมาณ 50/50 เปอร์เซ็นน้ำหนัก ความเร็วรอบหมุนเท่ากับ 40 รอบต่อนาที และความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยาประมาณ 0.1 เปอร์เซ็นน้ำหนัก และคุณสมบัติเชิงกลของกราฟโคพอลิเมอร์ได้ทำการศึกษาโดยการทดสอบด้วยเครื่องดึงยืด พบว่าสมบัติการยืดออกเพิ่มขึ้น แลกกับการลดลงของความแข็งแรง-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleCatalytic extrusion of polylactide/ethylene vinyl alcohol bioplastic filmen_US
dc.title.alternativeฟิล์มธรรมชาติ โพลีแลคไทด์/เอทธีลีนไวนิลแอลกอฮอล์ สังเคราะห์โดยเทคนิคแคททาไลติก เอคทรูชันen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePolymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorRathanawan.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharakamon_no_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.02 MBAdobe PDFView/Open
Patcharakamon_no_ch1_p.pdfบทที่ 1665.68 kBAdobe PDFView/Open
Patcharakamon_no_ch2_p.pdfบทที่ 21.8 MBAdobe PDFView/Open
Patcharakamon_no_ch3_p.pdfบทที่ 3771.28 kBAdobe PDFView/Open
Patcharakamon_no_ch4_p.pdfบทที่ 44.22 MBAdobe PDFView/Open
Patcharakamon_no_ch5_p.pdfบทที่ 5610.92 kBAdobe PDFView/Open
Patcharakamon_no_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก676.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.