Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67055
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์-
dc.contributor.advisorอรอุษา สรวารี-
dc.contributor.authorพัชรา แหวงอาราม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-15T02:25:05Z-
dc.date.available2020-07-15T02:25:05Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67055-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ การเตรียมอนุภาคนาโนคอมพอสิตของซิลิกา/พอลิสไตรีนผ่านกระบวนการเกิดพอลิเมอร์แบบดิฟเฟอเรนเชียลไมโครอิมัลชัน โดยใช้โซเดียมโดเดซิลซัลเฟต และ 2,2’ เอโซบิสไอโซบิวทิโรไนไตร์ลเป็นสารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไอออนิก และสารเริ่มปฏิกิริยาแบบละลายในน้ำมัน ตามลำดับ ด้วยการป้อนสไตรีนมอนอเมอร์ทีละหยดเข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์โดยใช้ช่วงระหว่างการหยดสั้นมาก อัตราส่วนโดยน้ำหนักของสารลดแรงตึงผิว/สไตรีน มอนอเมอร์มีค่าต่ำได้ถึง 0.125 ซึ่งอนุภาคของนาโนซิลิกาได้ถูกเตรียมผิวก่อนด้วยสารคู่ควบประเภท 3-เมทาคริลอกซีโพรพิลไตรเมทอกซีซิเลน เพื่อปรับปรุงการยึดเกาะระหว่างผิวของอนุภาคซิลิกาและพอลิสไตรีน โดยอนุภาคของนาโนคอมพอสิตที่เตรียมได้ถูกนำไปตรวจสอบหาขนาดอนุภาค เปอร์เซ็นต์ผลได้ และสัณฐานวิทยา ผลการทดลองแสดงโครงสร้างแบบ core-shell ที่มีขนาดอนุภาคเฉลี่ยประมาณ 43 นาโนเมตร โดยมีพอลิสไตรีนเคลือบบนผิวของซิลิกามากถึง 42-82 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณนาโนซิลิกาที่ผ่านการเตรียมผิวที่ใส่เข้าไปในระบบของดิฟเฟอเรนเชียลไมโครอิมัลชันen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to prepare silica (SiO2)/polystyrene (PS) composite nanoparticles via in situ differential microemulsion polymerization process. Sodium dodecyl sulfate (SDS) and 2,2’ azobis(isobutyronitrile) (AIBN) were used as an anionic surfactant and oil soluble initiatior, respectively. The styrene monomer feed into the reactor was provided in very small drops and the time interval between drops was very short. The weight ratio of the surfactant/styrene monomer was as low as 0.125. Nano-SiO2 particles were first treated with 3-methacryloxypropyltrimethoxysilane (MPTMS) coupling agent to improve the particle-PS interfacial adhesion. The obtained composite nano- particles were investigated for their particle size, % yield and morphology. The results showed that the core-shell structure of the nanocomposite particles had an average particle size about 43 nm. As much as 44-82% by weight of the PS was coated on the silica surface depend on the amount of the pretreated nano-SiO2 in the differential microemulsion system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุภาคนาโนen_US
dc.subjectซิลิกาen_US
dc.subjectโพลิสไตรีนen_US
dc.subjectPolystyreneen_US
dc.subjectSilica-
dc.subjectNanoparticles-
dc.titleการห่อหุ้มอนุภาคระดับนาโนของซิลิกาด้วยพอลิสไตรีนผ่านการเกิดพอลิเมอร์แบบดิฟเฟอเรนเชียลไมโครอิมัลชันen_US
dc.title.alternativeEncapsulattion of silica nanoparticles by polystyrene via differential microemulsion polymerizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorOnusa.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patchara_wa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ984.27 kBAdobe PDFView/Open
Patchara_wa_ch1_p.pdfบทที่ 1668.54 kBAdobe PDFView/Open
Patchara_wa_ch2_p.pdfบทที่ 22.06 MBAdobe PDFView/Open
Patchara_wa_ch3_p.pdfบทที่ 31.99 MBAdobe PDFView/Open
Patchara_wa_ch4_p.pdfบทที่ 41.55 MBAdobe PDFView/Open
Patchara_wa_ch5_p.pdfบทที่ 5656.9 kBAdobe PDFView/Open
Patchara_wa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.