Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67084
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล ว่องวาณิช-
dc.contributor.advisorอวยพร เรืองตระกูล-
dc.contributor.authorศศิธร เขียวกอ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-16T02:08:51Z-
dc.date.available2020-07-16T02:08:51Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741437668-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67084-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractงานวิจัย ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเปรียบเทียบผลการฝึกอบรมครู 3 รูปแบบ คือ แบบดั้งเดิม แบบใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ใช้ครูในโรงเรียนทำหน้าที่เป็นผู้ให้การฝึกอบรม และแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ใช้ ผู้ประเมินมืออาชีพทำหน้าที่เป็นผู้ให้การฝึกอบรมและ (2) เพื่อศึกษาผลการฝึกอบรมครูแบบดั้งเดิม แบบใช้ โรงเรียนเป็นฐานที่ใช้ครูในโรงเรียนทำหน้าที่เป็นผู้ให้การฝึกอบรม และแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ใช้ผู้ประเมินมืออาชีพทำหน้าที่เป็นผู้ให้การฝึกอบรมกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ข้าราชการครูสังกัด โรงเรียนอนุบาลสามเสน โรงเรียนพญาไท และโรงเรียนอนุบาลวัดปรินายกจำนวน 45 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม ๆ ละ 15 คน และกลุ่มควบคุม 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณประกอบด้วยแบบวัดสมรรถภาพด้านการประเมินจำนวน 1 ชุด และแบบสอบถามจำนวน 2 ชุด และเครื่องมือ ที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 3 ฉบับ คือ แบบให้คะแนนผลงาน แบบบันทึกผลการรปฏิบัติงาน และแบบสัมภาษณ์ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผลการวิเคราะห์ค่าเท่ากับ 0.507 มีค่าความยากระหว่าง 02 – 08 และค่าอำนาจ จำแนกตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยโดยการสร้างการใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง ยืนยันพบว่ามีค่า ไค-สแควร์ =53.81 df = 45 P = 0.172 RMR = 0.132 GF = 0809 และ AGFI = 07.20 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ด้วยสถิติบรรยายและการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมพหุนามด้วยโดยโปรแกรม SPSS 11.5 for windows ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรผลการฝึกอบรมหลังการฝึกอบรมระหว่างรูปแบบการฝึกอบรม 3 รูปแบบโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมพหุนาม พบว่า ตัวแปรสมรรถ ภาพด้านการประเมินแตกต่างอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ พบว่า รูปแบบการฝึกอบรมแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ใช้ครูในโรงเรียนทำหน้าที่เป็นผู้ในการฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า รูปแบบการฝึกอบรมรูปแบบอื่น (2) รูปแบบการฝึกอบรมแบบโรงเรียนเป็นฐานที่ใช้ผู้ประเมินมืออาชีพทำหน้าที่เป็นผู้ให้การฝึกอบรมทำให้ครูผลิตผลงานมีปริมาณและคุณภาพสูงสุด และผลการวิจัย พบว่า หลังการ ฝึกอบรมครูที่เข้ารับการฝึกอบรมรวมทั้ง 3 รูปแบบมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงานด้านการประเมิน และการมีการยอมรับความสามารถด้านการประเมินสูงขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า ครูที่เข้ารับการฝึกอบรมแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานทั้ง 2 รูปแบบคิดว่า ตนเองได้รับประโยชน์จากการฝึกอบรมด้านการสร้างแบบประเมินที่มีความหลากหลายและการวางแผนการ ประเมินรูปแบบการฝึกอบรมแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานมีข้อดีคือ มีการปฏิบัติจริงและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were (1) to compare the training results among traditional training with professional trainer, school-based training with peer teacher trainer and school-based training with professional trainer (2) To study training results from traditional training with professional trainer school training with peer teacher trainer and school-based training with professional trainer. The sample consisted of 15 teachers in contorted group, 15 teachers in experimental group and 15 teachers in another experimental group from 3 elementary school in Bangkok. The quantitative research instruments were test measuring evaluation competency, rating scales measuring attitude on evaluation working and self-efficacy on evaluation. The qualitative research instruments were product assessment checklist and interview from. The reliabilities of the instruments were .804 and .821 for two rating scales. The level of difficulty of the items ranged from 0.2 - 0.8 and the discrimination power of the items ranged from 0.2 up for test. Data were analyzed through using descriptive statistics. LISREL, t-dependent and MANCOVA. The major findings were (1) School based training with peer teacher trainer was the highest training product in-evaluation competency. (2) The quality and quality of products from school-based training with professional trainer were higher than peer teacher trainer and traditional with professional trainer The training in all groups had positive attitude and self efficacy toward evaluation working after training The school-based training teachers with peer teacher trainer and school-based training teachers with professional trainer had developed themselves about the various evaluation methods and evaluation plan. The school-based training’s advantages were practiced and monitoreden_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครูประถมศึกษา -- การประเมินen_US
dc.subjectครู -- การฝึกอบรมen_US
dc.subjectTeacher -- Trainingen_US
dc.subjectElementary school teachers -- Evaluationen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleการพัฒนาสมรรถภาพด้านการประเมินสำหรับครูโรงเรียนประถมศึกษา : การเปรียบเทียบผลการฝึกอบรมระหว่างการฝึกอบรมครูแบบดั้งเดิมและแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานen_US
dc.title.alternativeDevelopment of the evaluation competency for elementary school teachers: A comparison of training results between traditional and school-based Trainingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwsuwimon@chula.ac.th-
dc.email.advisorAuyporn.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasithorn_ki_front_p.pdf982.93 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ki_ch1_p.pdf877.23 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ki_ch2_p.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ki_ch3_p.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ki_ch4_p.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ki_ch5_p.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ki_back_p.pdf6.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.