Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67090
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เมตตา วิวัฒนานุกูล | - |
dc.contributor.author | สุรวัสดี เทพสันต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-07-16T03:43:58Z | - |
dc.date.available | 2020-07-16T03:43:58Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745318833 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67090 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา รูปแบบความสัมพันธ์และปัญหาอุปสรรคของการสื่อสารตามวัฒนธรรมระหว่างองค์กร ระหว่างเจ้าหน้าที่ไทยเจ้าหน้าที่ต่างชาติ และระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้ลี้ภัย การวิจัย นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งอาศัยเครื่องมือในการเก็บข้อมูล 3 วิธี คือการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การ สังเกตการแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง 5 กลุ่ม จำนวน 66 คน ผลการวิจัยพบว่า 1)องค์กรที่ประสานงานกับ UNHCR แบ่งได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ รัฐบาลไทย องค์กรพัฒนา เอกชน องค์กรระหว่างประเทศและสถานทูต โดยทางรัฐบาลไทยจะเป็นผู้กำหนดบทบาทและขอบเขตของ องค์กรที่เข้ามาดำเนินการเรื่องผู้ลี้ภัยในประเทศ แต่ทั้งนี้พบว่าองค์กรเหล่านี้มีวัฒนธรรมองค์กรที่แตกต่างไป จากวัฒนธรรมการทำงานของระบบราชการไทย 2) การสื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่นั้นมีช่องทางที่หลากหลายได้แก่ การสื่อสารผ่านล่าม ผ่านงานที่รับ ผิดชอบรวมกัน ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์กรและการประชุมร่วมกัน โดยเจ้าหน้าที่ต่างชาติเน้นการเตรียมพร้อมก่อนและหลังทำงานกับบุคคลต่างวัฒนธรรมมากกว่าเจ้าหน้าที่ไทย 3)เจ้าหน้าที่ไทยและเจ้าหน้าที่ต่างชาติต่างใช้การสื่อสารในระดับต่าง ๆ ในการให้ความรู้และให้ความ ช่วยเหลือแก่ผู้ลี้ภัย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วต้องอาศัยล่ามในการสื่อสาร 4)สำหรับปัญหาและอุปสรรคของคู่ความสัมพันธ์ในระดับต่าง ๆ สามารถสรุปออกได้ดังต่อไปนี้ ระหว่าง UNHCR กับรัฐบาลไทย ปัญหาด้านความรู้และการรับรู้ได้แก่ความแตกต่างกันด้านการรับรู้นโยบาย ด้านการตีความหมายคำว่า ผู้ลี้ภัย และคำว่า ”สิทธิมนุษยชน” รวมทั้งการว างบทบาทหน้าที่ที่ต่างกัน ปัญหาด้านทัศนคติและความรู้สึกได้แก่ ทัศนคติในทางลบของรัฐบาลต่อผู้ลี้ภัย ปัญหาพฤติกรรม ได้แก่ลักษณะการทำงานของแต่ละองค์กร และรูปแบบความสัมพันธ์ที่ต่างกัน ระหว่างเจ้าที่ไทยกับเจ้าหน้าที่ต่างชาติ ปัญหาด้านความรู้และการรับรู้ได้แก่ ความแตกต่างในการรับรู้และวิธีคิด ความไม่เข้าใจกันในเรื่องภาษา ปัญหาด้านทัศนคติและความรู้สึก ได้แก่ การมีอคติ ความคาดหวังที่ต่างกันความรู้สึกแบ่งแยกพวกเขา พวกเรา ปัญหาด้านพฤติกรรม ได้แก่ ลักษณะการทำงานที่แตกต่างกัน และปัญหาด้านภาษาและการสื่อสาร ระหว่างเจ้าหน้าที่ไทยและเจ้าหน้าที่ต่างชาติกับผู้ลี้ภัย ปัญหาด้านความรู้และการรับรู้ได้แก่ความไม่เข้าใจภาษา ปัญหาด้านทัศนคติและความรู้สึกได้แก่ การมีทัศนคติแบบเอาวัฒนธรรมตนเองเป็นศูนย์กลาง (ethnocentrism) ปัญหาด้านพฤติกรรมได้แก่ การไม่เข้าใจและไม่ยอมรับพฤติกรรมของผู้ลี้ภัย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study the patterns of relationship and intercultural communication problems among organizations related to UNHCR between Thai and foreign officers and between Thai or foreign officers and refugees Qualitative Research is conducted by using three research tools : documentary research, participant observation and in-depth interview with 66 subjects The results were as follows 1)The organizations working with UNHCR can be classified into four sections Royal Thai Government (RTG, NGOs, international organizations and embassy The organizations working with Refugees have to comply with Thai policies while each organizations has different organizational culture 2)Thai and foreign officers communicate through various channels. i.e. through an interpreter. Joint responsibility. activities and conferences Foreign officers are more prepared both prepared both prior to and after towards working with people of different culture than Thai officers. 3)Thai and foreign officers communicate with refugees at several levels of communication face To-face interpersonal communication, intragroup and intergroup communicate, etc. 4)Obstacles and intercultural communication problems of each group are found as follow Between UNHCR and Royal Thai Government : Cognitive problems perceptual differences in polices. Interpretation of “refugees: and :human rights” and role relationship Affective problems negative attitude of government towards refugees Behavioral problems different and relationship styles Between Thai and foreign officers : Cognitive problems different perception and thinking patterns Affective problems bias. different expectation and in group and out-group attitude Behavioral problems different working styles. Between officers and refugees : Cognitive problems : language Affective problems ethnocentrism Behavioral problems : on acceptance of refugees behavior. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | องค์กรไม่แสวงหากำไร | en_US |
dc.subject | ผู้ลี้ภัย | en_US |
dc.title | ลักษณะการสื่อสารต่างวัฒนธรรมขององค์กรต่างชาติที่ไม่แสวงผลกำไรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัย | en_US |
dc.title.alternative | Nature of intercultural communication of foreign non-profit organizaions working with refugees | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วาทวิทยา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Metta.V@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suravatsadee_th_front_p.pdf | 903.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suravatsadee_th_ch1_p.pdf | 901.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suravatsadee_th_ch2_p.pdf | 3.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suravatsadee_th_ch3_p.pdf | 914.51 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suravatsadee_th_ch4_p.pdf | 3.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suravatsadee_th_ch5_p.pdf | 2.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suravatsadee_th_back_p.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.