Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67254
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSumaeth Chavadej-
dc.contributor.advisorPramoch Rangsunvigit-
dc.contributor.authorThipsalin Poontaweegeratigarn-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2020-07-24T07:28:15Z-
dc.date.available2020-07-24T07:28:15Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67254-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012-
dc.description.abstractIn this work, biohydrogen and methane production from alcohol wastewater using upflow anaerobic sludge blanket reactors (UASB), with a volume of 4 L, was investigated to find optimum conditions. For biohydrogen production, the system was operated at different COD loading rates (23, 31, 46 and 62 kg/m3d) at mesophilic temperature (37 C) and pH 5.5. Seed sludge was pretreated by boiling at 95 C for 15 min before being fed to the UASB system. When the system was operated under the COD loading rate of 46kg/m3d, it provided a hydrogen content of 27%, hydrogen yield of 125.1 ml H2/g COD removed and 95.1 ml H2/g COD applied; hydrogen production rate of 18 l/d; specific hydrogen production rate of 1,080 ml h2/g MLVSS d (4,430 ml H2/L d); and COD removal of 24% For methane production, the effluent from the hydrogen production step operated (at the optimum conditions) was fed into the UASB system at different COD loading rates (4.5, 6.2, 8.8 and 11.6 kg/m3d) without pH control and without recycling to obtain maximum methane production. The maximum methane content (66.41%), methane yield (1,172.96 ml CH4/g COD removed and 581.43 ml CH4/g COD applied), methane production rate (20.37 l/d), specific methane production rate (1,720.32 ml CH4/g MLVSS d and 5,091.91 ml CH4/ L d), and COD removal (50.41%) were alsoobtained at a COD loading rate of 8.8 kg/m3d.-
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ทำการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากน้ำเสียที่ได้จากการผลิตแอลกอฮอล์โดยใช้ถังปฏิกรณ์แบบยูเอเอสบีที่มีปริมาตร 4 ลิตร ในขั้นตอนการผลิตไฮโดรเจนระบบได้ควบคุมอัตราการป้อนปริมาณสารอินทรีย์ (23, 31, 46 และ 62 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน) ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรด-ด่างของระบบเท่ากับ 5.5 เมื่อระบบป้อนสารอินทรีย์ที่ 46 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวันพบว่าเป็นอัตราการป้อนสารอินทรีย์ที่สภาวะเหมาะสมที่สามารถลิตภ๊าซไฮโดรเจนได้มากที่สุด คือ ได้องค์ประกอบของก๊าซไฮโดรเจน 27% ผลได้ของก๊าซไฮโดรเจน 125.1 มิลลิลิตรของก๊าซไฮโดรเจนต่อกรัมของสารอินทรีย์ที่ถูกกำจัดและ 95.1 มิลลิลิตรของก๊าซไฮโดรเจนต่อกรัมของสารอินทรีย์เริ่มต้น นอกจากนี้ให้อัตราการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจำเพาะเท่ากับ 1,080 มิลลิลิตรของก๊าซไฮโดรเจนต่อกรัมของของแข็งแขวนลอยต่อวัน (หรือ 4,430 มิลลิลิตรของก๊าซไฮโดรเจนต่อลิตรต่อวัน) และที่อัตราการป้อนสารอินทรีย์นี้สามารถกำจัดสารอินทรีย์ได้ 24% ในขั้นตอนการผลิตมีเทนนั้นใช้น้ำเสียขาออกจากการผลิตไฮโดรเจนที่สภาวะที่เหมาะสม (ที่สมารถให้ปริมาณก๊าซไฮโดรเจนมากที่สุด) เป็นสารตั้งต้นและมีการเปลี่ยนแปลงอัตราการป้อนปริมาณสารอินทรีย์ (4.5, 6.2, 8.8 และ 11.6 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน) โดยไม่มีการควบคุมความเป็นกรด-ด่าง และไม่มีระบบนำกลับมาใช้ใหม่ จากขั้นตอนการผลิตมีเทนพบว่าเมื่อระบบป้อนสารอินทรีย์ที่ 8.8 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวันพบว่าเป็นอัตราการป้อนสารอินทรีย์ที่สภาวะเหมาะสมที่สามารถผลิตก๊าซมีเทนได้มากที่สุด คือ ได้องค์ประกอบของก๊าซมีเทน 66.41% ผลได้ของก๊าซมีเทน 1,172.96 มิลลิลิตรของก๊าซมีเทนต่อกรัมของสารอินทรีย์ที่ถูกกำจัดและ 581.43 มิลลิลิตรของก๊าซมีเทนต่อกรัมของสารอินทรีย์เริ่มต้น นอกจากนี้ให้อัตราการผลิตก๊าซมีเทน 20.37 ลิตรต่อวัน คิดเป็นอัตราการผลิตก๊าซมีเทนจำเพาะเท่ากับ 1,720.32 มิลลิลิตรของก๊าซมีเทนต่อกรัมของของแข็งแขวนลอยต่อวัน และ 5,091.91 มิลลิลิตรของก๊าซมีเทนต่อลิตรต่อวัน และที่อัตราการป้อนสารอินทรีย์นี้สามารถกำจัดสารอินทรีย์ได้ 50.41%-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectWaste products-
dc.subjectHydrogen-
dc.subjectMethane-
dc.subjectผลิตภัณฑ์พลอยได้-
dc.subjectไฮโดรเจน-
dc.subjectมีเทน-
dc.titleHydrogen and methane production from alcohol wastewater by upflow anaerobic sludge blanket reactors-
dc.title.alternativeการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากน้ำเสียที่ได้จากกระบวนการผลิตแอลกอฮอล์โดยใช้ถังปฏิกรณ์แบบยูเอเอสบี-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplinePetrochemical Technology-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thipsalin_po_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ904.82 kBAdobe PDFView/Open
Thipsalin_po_ch1_p.pdfบทที่ 1649.57 kBAdobe PDFView/Open
Thipsalin_po_ch2_p.pdfบทที่ 21.68 MBAdobe PDFView/Open
Thipsalin_po_ch3_p.pdfบทที่ 3804.82 kBAdobe PDFView/Open
Thipsalin_po_ch4_p.pdfบทที่ 41.34 MBAdobe PDFView/Open
Thipsalin_po_ch5_p.pdfบทที่ 5626.03 kBAdobe PDFView/Open
Thipsalin_po_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.