Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภิญโญ วิทวัสชุติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-04-30T10:25:07Z-
dc.date.available2008-04-30T10:25:07Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6754-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบและความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม) ตามตัวแปรเพศ ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ตัวอย่างประชากรได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 106 คน จากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม) ได้รับแบบสอบถามคืนมา 103 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 96.26 ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า "ที" (t-test) และค่าสหสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson's product moment correlation coefficient) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป เอส พี เอส เอส เอ็กซ์ ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับดี 2. การเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงพบว่า มีความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนหญิงมีความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดีกว่านักเรียนชาย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.001en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were to compare and find the correlation between the knowledge and behaviors of the self health care of Mathyom suksa 6 students in Chulalongkorn University School (Secondary level) by sexual variables. The questionnaires were constructed and the data were collected by the researcher. The samples of 106 Mathyom suksa 6 students in Chulalongkorn University Demonstrations School responded to the questionnaires. The 103 questionnaires, accounted for 96.26 percent were returned. The data were then analysed to obtain the percentages, arithmetic means, standard deviations. The t-test was applied to determine the significant differences. Also, the Pearson's Product Moment was applied to determine the correlation coefficient. The results were as follows: 1. Students had the knowledges and behaviors of self health care at the "good" level. 2. Comparing the knowledges and behaviors of self health care of boy and girl students, it was found that the knowledges and behaviors of self health care were significantly different at .05 level. The girls had the better knowledges and behaviors than the boys. 3. There were no significant differences between the correlation of the knowledges and behaviors of self health of Mathyom suksa 6 students, at 0.01 and 0.001 level.en
dc.description.sponsorshipเงินทุนโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2534en
dc.format.extent10948112 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม)--นักเรียนen
dc.subjectนักเรียนมัธมยศึกษา--สุขภาพและอนามัยen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม) : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeCorrelation between knowledge and behaviors of self health care of mathyom suksa six students in Chulalongkorn University Demonstration School (Secondary level)en
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pinyo(corr).pdf10.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.