Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasit Pavasant-
dc.contributor.advisorThomson, Erik W.-
dc.contributor.authorNeeracha Ruangpanit-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistry-
dc.date.accessioned2020-08-18T03:53:12Z-
dc.date.available2020-08-18T03:53:12Z-
dc.date.issued2000-
dc.identifier.issn9741304544-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67564-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2000en_US
dc.description.abstractType I collagen is one of a few physiological substances that caninduce the activation of MMP-2, a tissue degrading enzyme involved invarious physiological and pathological phenomena. In the present study,specificity for the types and structures of collagen capable of thisinduction has been studied. MMP-2 activation was monitored by zymography.Treatment of the cell cultures by addition of collagen in solution, insteadof growing cells oil collagen gels, was developed to avoid unknown effectsof trapped serum proteins, and for ease in manipulating collagenconcentrations. Addition of recombinant, purified, or partially purifiedcollagens into the culture of normal human skin fibroblasts demonstratedthe specificity of fibrillar-type collagen for induction of MMP-2activation. Reduction of MMP-2 fibril formation by treatment of thecultures with dry monomeric or alkali-treated collagen, or afibril-inhibitory collagen peptide, abrogated the MMP-2 activation.Moreover the periodate-sensitive features of collagen, such as thecarbohydrate molecules, were required for the appropriate cellular responseto collagen, whereas the presence or absence of telopeptide made littledifference to induction of MMP-2 activation. Both mRNA and protein levelsof the prominent MMP-2 activator, MT1-MMP, were consistently correlatedwith the amount of MMP-2 activation. The importance of MT1-MMP wassupported by the relative lack of MMP-2 activation after collagenstimulation of MM1-MMP% mouse fibroblasts. The role of collagen in this process was further assessed inascorbate-treated fibroblast cultures, which secrete and deposit endogenouscollagen, and better represent ~iin vivo~i conditions. Endogenous collageninduced a similar profile of MMP-2 activation and MT1-MMP expression asexogenous collagen. Temporal resolution of transcriptional andnon-transcriptional regulation of MT1-MMP by collagen was also observed inthis culture system. The essential role of collagen for MMP-2 activation inthis system was confirmed with prolyl-4-hydroxylase inhibitors, and withfibroblasts derived from the Mov-13 mouse, in which the collagen (+,a)1 (I)gene is not expressed. Inhibition of the endogenous collagen cross-linkingby BAPN had no effect on the activation of MMP-2. Surprisingly,pC-procollagen, produced by Mov13-5 CM mouse fibroblasts transfected with adefective (+,a)(,1)(I) chain, retained the ability to induce MMP-2activation, despite their inability to form fibrils. This result suggestedthat a non-fibrillar collagen structure can induce MMP-2 activation.Furthermore, ascorbate-treated cultures of MT1-MMP -/- mouse fibroblastsshowed considerable MMP-2 activation, which appears to be due to anintracellular activation. Collectively this study confirms an importantrole of type I collagen in both MT1-MMP- dependent and - independent activation ofMMP-2, and the ability of non-fibrillar collagen structures to induce MMP-2activation in ~iin vivo~i-simulated cultures of fibroblasts.en_US
dc.description.abstractalternativeคอลลาเจนเป็นหนึ่งในสารเพียงไม่กี่ชนิดในร่างกายที่มีความสามารถในการเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนส เอ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในกระบวนการย่อยสลายทั้งในสภาวะปกติและพยาธิสภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความจำเพาะของชนิดและโครงสร้างของคอลลาเจนต่อความสามารถในการเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนส เอ โดยใช้การวิเคราะห์แบบไซโมกราฟีในการตรวจวัดระดับการทำงานของเอนไซม์ คอลลาเจนในการทดลองนี้อยู่ในรูปของสารละลายแทนการใช้คอลลาเจนวุ้นเพื่อให้ง่ายต่อการปรับเปลี่ยนความเข้มข้นที่ใช้ในการกระตุ้นเซลล์และหลีกเลี่ยงการซึมซับโปรตีนต่าง ๆจากอาหารเลี้ยงเซลล์ ซึ่งอาจส่งผลต่อการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ได้ การกระตุ้นไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากผิวหนังของมนุษย์ด้วยสารละลายคอลลาเจนชนิดต่าง ๆ พบว่าคอลลาเจนชนิดที่มีความสามารถในการเกิดเส้นใยสามารถเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ได้ แต่เมื่อลดการเกิดโครงสร้างเส้นใยของคอลลาเจน โดยการปล่อยคอลลาเจนให้แห้งในสภาวะกรดหรือการใช้คอลลาเจนที่ผ่านการทำปฏิกิริยากับด่าง รวมทั้งการใช้เปปไตด์ที่มีความสามารถเฉพาะในการยับยั้งการเกิดโครงสร้างเส้นใยของคอลลาเจน จะยับยั้งการเหนี่ยวนำ การกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์-เจลานิเนส เอ ผลการศึกษายังแสดงให้เห็นว่าส่วนของคอลลาเจนที่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยากับเปอร์ไอโอเดต เช่น คาร์โบไฮเดรตบนคอลลาเจน โมเลกุลมีความจำเป็นในขบวนการเหนี่ยวนำนี้ในขณะที่ส่วนทีโลเปปไตด์ไม่มีผล การศึกษาเซลล์ไฟโบรลลาสต์ที่ได้จากผิวหนังของมนุษย์และเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากหนูที่ยีนของเอนไซม์เอ็มทีวันเอ็มเอ็มพี ถูกทำลาย พบว่าระดับการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนส เอ ในการตอบสนองต่อสารละลานคอลลาเจนสอดคล้องกับ ระดับการแสดงออกของยีนและโปรตีนของเอนไซม์เอ็มทีวันเอ็มเอ็มพี ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นจำเพาะของเอนไซม์เจลาติเนสเอ บทบาทของคอลลาเจนในการเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์-เจลาติเนส เอ ได้ถูกศึกษาเพิ่มเติมโดยการเลี้ยงเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากผิวหนังติดต่อกันเป้นระยะเวลานานในสภาวะที่มีวิตามินซี นำไปสู่การสะสมคอลลาเจนในลักษณะที่ใกล้เคียงกับในร่างกายมากกว่าการเติมคอลลาเจนให้กับเซลล์ คอลลาเจนที่เซลล์สร้างขึ้นนี้สามารถเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนส เอเช่นเดียวกับการเติมสารละลายคอลลาเจน การเลี้ยงเซลล์ในลักษณะนี้ยังแสดงให้เห็นความแตกต่างของช่วงเวลาในการควบคุมการทำงานของเอนไซม์เอ็มทีวันเอ็มเอ็มพีโดยคอลลาเจนทั้งในระดับการแสดงออกและระดับหลังการแสดงออกของยีน การยับยั้งการสร้างคอลลาเจนนำไปสู่การยับยั้งการเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ เจลานิเนส เอ แสดงให้เห็นโดยการเลี้ยงเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากผิวหนังร่วมกับการใช้สารยับยั้งเอนไซม์-โปรริวโฟไฮดรอกซีเลส และการเลี้ยงเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากหนูสายพันธุ์โมฟ 13อย่างไรก็ดีการใช้สารบีเอพีเอ็นเพื่อยับยั้งการเกิดโครงสร้างเกี่ยวสานของเส้นใยคอลลาเจนในเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากผิวหนัง, การเลี้ยงเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากหนูสายพันธุ์โมฟ 13-5 ซีเอ็ม ซึ่งสร้างคอลลาเจนที่ไม่สามารถเกิดโครงสร้างเส้นใย รวมทั้งการเลี้ยงเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้จากหนูที่ยีนของเอนไซม์เอ็มทีวันเอ็มเอ็มพีถูกทำลายยังพบมีการเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนสเอ ผลดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความไม่จำเป็นของโครงสร้างเกี่ยวสานและโครงสร้างเส้นใยของคอลลาเจนรวมทั้งความเป็นไปได้ของการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนส เอ ภายในเซลล์ ผลจากการศึกษานี้สนับสนุนบทบาทของคอล-ลาเจนที่เซลล์สร้างขึ้นในการเหนี่ยวนำการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนสเอ โดยผ่านและไม่ผ่านการทำงานของเอนไซม์เอ็มทีวันเอ็มเอ็มพี รวมทั้งแสดงถึงความสามารถของคอลลาเจน โดยไม่จำเป็นต้องเกิดโครงสร้างเส้นใยในการเหนี่ยวนำการทำงานของเอนไซม์เจลาติเนส เอen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn University,en_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.370-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectCollagenen_US
dc.subjectFibroblastsen_US
dc.subjectGelatinase Aen_US
dc.subjectEnzymesen_US
dc.subjectคอลลาเจนen_US
dc.subjectเซลล์สร้างเส้นใยen_US
dc.subjectเจลาติเนสเอen_US
dc.subjectเอนไซม์en_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleCollagen requirements of cell surface activation of gelatinase A by fibroblastsen_US
dc.title.alternativeความต้องการคอลลาเจนในขบวนการเหนี่ยวนำให้เกิดการกระตุ้นการทำงาน ของเอนไซม์เจลาติเนส เอ ที่พบบนพื้นผิวเซลล์ไฟโบรบลาสต์-
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineOral Biologyen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorprasitpav@hotmail.com-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.370-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Neeracha_ru_front_p.pdfCover and abstract852.68 kBAdobe PDFView/Open
Neeracha_ru_ch1_p.pdfchapter 11.57 MBAdobe PDFView/Open
Neeracha_ru_ch2_p.pdfchapter 21.37 MBAdobe PDFView/Open
Neeracha_ru_ch3_p.pdfchapter 31.37 MBAdobe PDFView/Open
Neeracha_ru_ch4_p.pdfchapter 4848.9 kBAdobe PDFView/Open
Neeracha_ru_back_p.pdfReference and appendix1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.